Page 66 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 66
3-56 ไทยในเศรษฐกิจโลก
บันเทิง (Media TNCs) ของสหรัฐอเมริกาในรูปแบบการของครอบครองอ�ำนาจแบบนุ่มนวล (Soft
power) โดยนกั รัฐศาสตร์อยา่ งโจเซพ ไนล์ (Joseph Nye)
ส่วนแนวคิดที่สามเห็นว่า บรรษัทข้ามชาติเป็นตัวแสดงในระดับรัฐ กล่าวคือการส้ินสุดของความ
เป็นมหาอ�ำนาจหน่ึงเดียวของสหรัฐอเมริกาภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ไม่ได้ท�ำให้บทบาทของบรรษัท
ขา้ มชาติลดน้อยลง แม้ว่าบรรษทั ข้ามชาตขิ องสหรฐั อเมริกาจะลดอทิ ธิพลลง และถกู แซงหนา้ โดยบรรษทั
ข้ามชาติของญี่ปุ่นและยุโรป (Non-U.S. TNCs) ปรากฏการณ์ท่ีส�ำคัญก็คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
ของประเทศลงทนุ และประเทศผรู้ บั การลงทนุ นน่ั คอื ทกุ ประเทศไมว่ า่ จะเปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ หรอื กำ� ลงั
พฒั นากเ็ ปน็ ประเทศผรู้ บั การลงทนุ ไดห้ มด (We are all host countries) เนอ่ื งจากมกี ารลงทนุ ในระหวา่ ง
กลมุ่ ประเทศพฒั นาดวั ยกนั เองและการขยายการลงทนุ ในประเทศทก่ี า้ วเขา้ มาสโู่ ลกเสรนี ยิ มภายหลงั การสนิ้ สดุ
ของสงครามเยน็ บทบาทและทางเลอื กทเี่ พม่ิ มากขน้ึ ของบรรษทั ขา้ มชาตกิ อ่ ใหเ้ กดิ สงิ่ ที่ จอนห์ สตอปฟอรด์
(John Stopford) และ ซซู าน สเตรนจ2์ 3 เรยี กวา่ การทตู แบบสามเสา้ (triangular diplomacy) กลา่ วคอื
โดยปกติรัฐมักจะต่อรองกับรัฐ และบรรษัทก็มักจะต่อรองกับบรรษัทด้วยกัน แต่เมื่อบรรษัทข้ามชาติมี
บทบาทและอทิ ธพิ ลมากขน้ึ รฐั กต็ อ้ งมกี ารเจรจาตอ่ รองกบั บรรษทั ขา้ มชาติ การเจรจาตอ่ รองระหวา่ งรฐั กบั
บรรษัทนั้นโดยปกติรัฐมักจะเสียเปรียบและถูกบรรษัทบีบให้ต้องยินยอมถ้ารัฐน้ันๆ ต้องการแข่งขันกับรัฐ
อน่ื ๆ เพอ่ื ดงึ ดดู ใหบ้ รรษทั มาลงทนุ ในรฐั ของตน เนอื่ งจากรฐั มตี ำ� แหนง่ แหง่ ทท่ี แี่ นน่ อนรวมถงึ มดี นิ แดนและ
อาณาเขตที่ต้องดูแลควบคุม แต่บรรษัทข้ามชาติไม่มีต�ำแหน่งแห่งที่แน่นอนสามารถเคล่ือนย้ายได้ง่าย
(Footloose) อยา่ งไรกต็ าม รฐั จะคานอำ� นาจกบั บรรษทั ก็โดยการครอบครองทรัพยากรท่บี รรษัทข้ามชาติ
ต้องการและรัฐอน่ื ไมม่ ี เช่น แรงงานที่มีการศกึ ษาและความเช่ียวชาญพเิ ศษ เป็นตน้
อย่างไรก็ตาม บาแลม และเวเซท (Balaam and Veseth, 2005) ได้ให้มุมมองที่น่าสนใจใน
ประเด็นเรื่องอ�ำนาจของบรรษัทข้ามชาติ กล่าวคือ แม้ว่าบรรษัทข้ามชาติจะมีจ�ำนวนมากดังที่ได้กล่าวไป
แลว้ ขา้ งตน้ แตบ่ รรษทั ขา้ มชาตเิ หลา่ นม้ี ขี นาดซง่ึ วดั จากมลู คา่ สนิ ทรพั ยท์ แ่ี ตกตา่ งกนั กลา่ วคอื ใน ค.ศ. 2000
บรษิ ทั ขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ตามการจดั ลำ� ดบั ของ UNDP อยา่ ง Vodafone ขององั กฤษมมี ลู คา่ สนิ ทรพั ยจ์ ำ� นวน
221 พันล้านดอลลารส์ หรัฐ เทียบกับบรรษทั ขนาดใหญ่ลำ� ดับท่ี 25 คือ Phillip Electronics ของประเทศ
เนเธอร์แลนด์มีมูลค่าสินทรัพย์มูลค่า 27 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แสดงให้เห็นว่าบรรษัทข้ามชาติมีขนาด
แตกตา่ งกนั และแตล่ ะบรรษทั กม็ คี วามแตกตา่ งกนั ในแงข่ องการผลติ การลงทนุ และการเงนิ การพจิ ารณา
แตเ่ พยี งจำ� นวนหรอื มูลค่าของสินทรพั ย์จึงหยาบและง่ายเกนิ ไป
นอกจากนี้ การเปรียบเทียบอ�ำนาจของบรรษัทกับอ�ำนาจของรัฐยังเป็นการเปรียบเทียบ 2 ตัว
แสดงทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั มากเกนิ กวา่ จะนำ� มาเปรยี บเทยี บกนั ได้ เนอ่ื งจากทงั้ บรรษทั และรฐั มคี ณุ ลกั ษณะ
บทบาท และหนา้ ทที่ แ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน กลา่ วคอื ขณะทร่ี ฐั ประกอบดว้ ยดนิ แดน พลเมอื ง มกี ฎหมาย
กองทพั และอธปิ ไตย รวมถงึ มสี ทิ ธแิ ละความชอบธรรมอนั เปน็ ทยี่ อมรบั ในระบบระหวา่ งประเทศ แตบ่ รรษทั
ขา้ มชาตไิ มม่ คี ณุ ลกั ษณะ บทบาท และหนา้ ทเ่ี หลา่ น้ี ดงั นนั้ ความพยายามเปรยี บเทยี บบทบาทและอำ� นาจ
23 อ่านเพ่ิมเติมใน Stopford, J.M. and Strange, S. (1991). Rival States, Rival Firms: Competition for World
Market Share. Cambridge: Cambridge University Press.