Page 65 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 65

ประเทศไทยกบั เศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ 3-55
การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ รวมทง้ั ความมน่ั คงของรฐั การแพรก่ ระจายของเทคโนโลยี ขา่ วสาร และความรู้
ผา่ นการแขง่ ขนั กนั ของบรรษทั ขา้ มชาตทิ ง้ั ในระดบั ภมู ภิ าคและระดบั โลก ใน ค.ศ. 2005 มกี ารประมาณวา่
มีบรรษัทข้ามชาติจ�ำนวน 65,000 แห่ง และมีตัวแทนของบรรษัทเหล่านี้ในประเทศต่างๆ กว่า 850,000
แห่ง โดยบรรษัทเหล่าน้ีจ้างงานแรงงานถึง 54 ล้านคน และใน ค.ศ. 2005 นิตยสารฟอร์จูน (Fortune
Magazine) และธนาคารโลกไดจ้ ดั ลำ� ดบั ของหนว่ ยงานทางเศรษฐกจิ (economic entities) ทม่ี ขี นาดใหญ่
จ�ำนวน 150 อันดับจากขนาดของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) และรายได้ พบว่า
รอ้ ยละ 63.3 หรอื 95 อนั ดบั เปน็ บรรษทั ขา้ มชาติ โดยมบี รรษทั ขา้ มชาตขิ นาดใหญอ่ ยา่ ง Wal-Mart, BP,
Exxon Mobil, and Royal Dutch/Shell Group อยู่ในล�ำดับท่ี 22 ถึง 25 ซ่ึงมีล�ำดับของรายได้
อยู่เหนือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศหลายประเทศอย่าง อินโดนิเซีย ซาอุดีอาระเบีย
นอรเ์ วย์ เดนมารก์ โปแลนด์ แอฟรกิ าใต้ และกรซี เปน็ ตน้ (Balaam and Veseth, 2005)

       สำ� หรบั ประเทศไทย บรรษทั ขา้ มชาตเิ ขา้ มามบี ทบาทตอ่ เศรษฐกจิ ไทยผา่ นการลงทนุ โดยตรงจาก
ตา่ งประเทศ (FDI) ตง้ั แตท่ ศวรรษ 1960s และโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ชว่ งครง่ึ หลงั ของทศวรรษ 1980s หลงั จาก
ข้อตกลงพลาซ่า บรรษัทข้ามชาติจากญ่ีปุ่นจ�ำนวนมากมีการโยกย้ายฐานการผลิตมายังประเทศไทย ใน
พ.ศ. 2550 บทบาทของบรรษทั ขา้ มชาตใิ นไทยเหน็ ไดอ้ ยา่ งเดน่ ชดั ในดา้ นการสง่ ออกโดยเฉพาะการสง่ ออก
ภาคอตุ สาหกรรมทบ่ี รรษทั ขา้ มชาตมิ สี ว่ นแบง่ การสง่ ออกโดยเฉลย่ี ทรี่ อ้ ยละ 58.9 ของการสง่ ออกทงั้ หมด 
โดยในอตุ สาหกรรม 2 ประเภทคอื อตุ สาหกรรมเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ และเครอื่ งอปุ กรณข์ นสง่
ทร่ี วมกลมุ่ ยานยนตแ์ ละสว่ นประกอบ เปน็ อตุ สาหกรรมทม่ี มี ลู คา่ การสง่ ออกรวมกวา่  5.6 หมน่ื ลา้ นดอลลาร์
สหรัฐฯ (คิดเป็นมูลค่าประมาณร้อยละ 37 ของมูลค่าการส่งออกของไทย) บรรษัทข้ามชาติมีส่วนแบ่ง
ในการสง่ ออกสงู ถงึ ร้อยละ 88.1 และร้อยละ 86.4 ตามลำ� ดับ (เดือนเดน่ นคิ มบรริ ักษ์ และคณะ, 2550)

       เมอ่ื พจิ ารณาจากข้อมูลขา้ งต้น จะพบวา่ บรรษัทข้ามชาตมิ บี ทบาทและอิทธิพลอยา่ งมากในระบบ
เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ ดงั นนั้ จงึ มกั มคี ำ� ถามวา่ บรรษทั ขา้ มชาตทิ เี่ ปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาทหลกั ภายหลงั
สงครามเย็นน้ีเป็นตัวแทนและรักษาผลประโยชน์ของใคร แนวคิดแรกเห็นว่า บรรษัทเหล่านี้เป็นตัวแทน
ของทนุ ในระบบทนุ นยิ มแบบจกั วรรดนิ ยิ ม ทคี่ ำ� นงึ ถงึ แตผ่ ลประโยชนข์ องทนุ โดยการลงทนุ โดยตรง (FDI)
ในประเทศกำ� ลงั พฒั นา ทำ� ใหท้ นุ สามารถเขา้ ไปมอี �ำนาจผกู ขาด ตวั อยา่ งเชน่ งานเขยี นเรอื่ ง Imperialism:
the Highest Stage of Capitalism21 ของ เลนิน One World, Ready of Not: The Manic
Logic of Global Capitalism22 ของ วลิ เลียม ไกรเดอร์ (William Greider)

       แนวคิดท่ีสอง เห็นว่าบรรษัทข้ามชาติเป็นเคร่ืองมือของมหาอ�ำนาจอย่างสหรัฐอเมริกาในช่วง
สงครามเย็น ตวั อยา่ งเชน่ งานเขียนเร่ือง U.S. Power and the Multinational Corporation (1975)
ของ กลิ ปนิ (Robert Gilpin) และแมว้ า่ ความเปน็ มหาอำ� นาจหนงึ่ เดยี วของสหรฐั อเมรกิ าจะหมดไปในตงั้ แต่
ทศวรรษที่ 1970 แนวคดิ ดงั กลา่ วกถ็ กู ปรบั ไปใชใ้ นการอธบิ ายการครอบงำ� ทางวฒั นธรรมของอตุ สาหกรรม

         21 อ่านเพ่มิ เตมิ ใน Lenin, V.I. (1970). Imperialism, the Highest Stage of Capitalism. Moscow: Progress.
         22 อ่านเพิ่มเติมใน Greider, William. (1997). One World, Ready of Not: The Manic Logic of Global
Capitalism. New York: Simon & Schuster.
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70