Page 60 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 60
3-50 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
เปน็ 330,572 ล้านบาทใน พ.ศ. 2536 และ 435,630 ล้านบาทใน พ.ศ. 2536 ตามล�ำดับ (สมภพ มานะ
รังสรรค,์ 2546)
การขยายตัวของเศรษฐกจิ ฟองสบู่ส่งผลกระทบตอ่ เสถยี รภาพของเศรษฐกจิ ไทยท�ำใหเ้ กิดปญั หา
การขาดดลุ บญั ชีเดนิ สะพดั ซึง่ เพมิ่ สูงข้ึนจากร้อยละ 5.6 ใน พ.ศ. 2537 เปน็ ร้อยละ 8.1 ใน พ.ศ. 2538
ขณะเดยี วกันกก็ อ่ ใหเ้ กิดปัญหาเงนิ เฟอ้ โดยอัตราเงินเฟ้อของไทยไดเ้ พิม่ จากร้อยละ 5 ใน พ.ศ. 2537 ไป
เป็นร้อยละ 5.8 ใน พ.ศ. 2538 และเพม่ิ เป็นรอ้ ยละ 7 ใน พ.ศ. 2539 นอกจากนี้ เศรษฐกจิ ฟองสบ่ยู งั
กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การขยายตวั ของการบรโิ ภค19 เนอื่ งจากกลมุ่ คนบางกลมุ่ ไดร้ บั รายไดเ้ พมิ่ มากขนึ้ อยา่ งรวดเรว็
และงา่ ยดายจากภาวะฟองสบู่ การบริโภคสินคา้ ฟ่มุ เฟอื ยท่ีนำ� เขา้ จากตา่ งประเทศจึงเพ่มิ มากขนึ้ สง่ ผลให้
สดั สว่ นมลู คา่ การออมในภาคครวั เรอื นลดนอ้ ยลงและเพม่ิ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งเงนิ ออมและการลงทนุ ออกไปอกี
ท�ำให้เศรษฐกิจไทยต้องอาศัยเงินทุนหรือเงินกู้จากต่างประเทศเพิ่มมากข้ึน ดังจะเห็นได้ว่า สัดส่วนหน้ี
ตา่ งประเทศรวมต่อผลิตภัณฑม์ วลรวมประชาชาตขิ องไทยได้เพ่มิ ข้ึนจากรอ้ ยละ 39.2 ใน พ.ศ. 2535 ไป
เป็นร้อยละ 49.2 ใน พ.ศ. 2538
อย่างไรกต็ าม เมือ่ เกิดภาวะฟองสบู่แตกใน พ.ศ. 2540 การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทเี่ พิม่ ขนึ้
อยา่ งรวดเรว็ ในทศวรรษที่ 2530 ไดห้ ยดุ ชะงกั ลง ภาวะตกตำ่� ดงั กลา่ วเรมิ่ ตน้ ขน้ึ จากการสญู เสยี ความสามารถ
ในการแข่งขันในตลาดโลกโดยการเจริญเติบโตของภาคการส่งออกลดลงจนมีอัตราการเพ่ิมเป็นศูนย์ ใน
พ.ศ. 2539 สว่ นตวั เลขหนี้ตา่ งประเทศก็มีมูลค่าเพ่ิมสูงข้ึนถงึ 89,000 ล้านดอลลารส์ หรฐั ซ่ึงเกือบรอ้ ยละ
80 เปน็ หน้ีภาคเอกชน ขณะเดยี วกัน การขาดดุลบัญชเี ดินสะพดั ซ่งึ เปน็ ดัชนที ี่ชว้ี ่าประเทศมศี กั ยภาพใน
การใช้หนี้คืนได้ในระยะยาวหรือไม่ก็เพ่ิมสูงขึ้นอย่างน่าวิตก ท�ำให้ความเช่ือมั่นของนักลงทุนถดถอยลง
ส่งผลให้เกิดการเคล่ือนย้ายเงินทุนออกนอกประเทศ ความกดดันที่จะต้องลดค่าเงินบาทเพ่ิมสูงขึ้นเร่ือยๆ
ประกอบกบั ไทยตอ้ งเผชญิ กบั การเกง็ กำ� ไรคา่ เงนิ บาทจากกลมุ่ นกั เกง็ กำ� ไรขา้ มชาตทิ เี่ ขา้ มาเกง็ กำ� ไรซอ้ื ขาย
เงนิ บาท เนอ่ื งจากนกั เกง็ กำ� ไรเหลา่ นไี้ ดค้ าดการณไ์ วแ้ ลว้ วา่ รฐั บาลไทยจะตอ้ งลดคา่ เงนิ บาทในทส่ี ดุ การเขา้ ไป
พยายามปกป้องค่าเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยการพยายามขายเงินดอลลาร์สหรัฐออกไป
เพอ่ื รกั ษาเสถยี รภาพของเงนิ บาทเอาไว้ ธนาคารแหง่ ประเทศไทยทำ� การตอ่ สกู้ บั การโจมตคี า่ เงนิ บาทจากกลมุ่
นกั เกง็ กำ� ไรขา้ มชาตถิ งึ 2 ครง้ั ทำ� ใหเ้ งนิ สำ� รองระหวา่ งประเทศทมี่ อี ยลู่ ดลงจาก 39,000 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั
ในเดือนมกราคม ใน พ.ศ. 2540 เหลอื เพยี ง 26,968 ล้านดอลลาร์สหรัฐเมอื่ สิน้ ปี พ.ศ. 2540 แตถ่ า้ หกั
พนั ธะในการสง่ มอบเงนิ ตราตา่ งประเทศจากการซอ้ื ขายเงนิ ตราลว่ งหนา้ แลว้ ทนุ สำ� รองสทุ ธขิ องประเทศไทย
จะเหลอื อยเู่ พียง 2,800 ล้านดอลลาร์สหรฐั ในวนั ท่ีประเทศไทยประกาศเปล่ียนระบบอัตราแลกเปลย่ี นจาก
ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นแบบคงทเี่ ป็นอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวภายใตก้ ารจดั การ (Managed floating
exchange rate) ในวนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2540 โดยรฐั บาลไทยในขณะนน้ั ตอ้ งขอใหก้ องทนุ การเงนิ ระหว่าง
19 การใชจ้ า่ ยสว่ นตวั ของคนไทยโดยเฉพาะชนชั้นกลางและสงู มีการเติบโตข้ึนอย่างมาก ใน พ.ศ. 2538 การใชจ้ า่ ยมูลคา่
90,000 ล้านบาทหมดไปกับการเดินทางไปต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายมูลค่า 10,000 ล้านบาท หมดไปกับการศึกษาต่อต่างประเทศ
ขณะทคี่ ่าใช้จ่ายมูลคา่ 7,000 ลา้ นบาทหมดไปกบั นาฬิกาและเครอ่ื งประดับ การสง่ เสริมการใช้จา่ ยท่ีมีมลู ค่าสงู ดงั กล่าวน้ี ทำ� ใหต้ ้อง
มีการสรา้ งสนิ เชือ่ ข้นึ มาตอบสนอง การใหส้ ินเชอ่ื น้ันมหี ลายวิธี รปู ธรรมทเ่ี หน็ ไดช้ ดั กค็ ือ การออกบัตรเครดิต โดยจะเหน็ ว่า ระหวา่ ง
พ.ศ. 2526-2531 นน้ั จำ� นวนบัตรเครดติ ได้เพ่มิ ขึ้นถงึ 6 เทา่ จนใน พ.ศ. 2539 จ�ำนวนบัตรเครดติ ไดเ้ พม่ิ สูงข้นึ ถึง 1.9 ล้านใบ