Page 56 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 56

3-46 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
       แมว้ า่ ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศยคุ หลงั สงครามเยน็ เปน็ การสนิ้ สดุ ลงของความขดั แยง้

ทางอดุ มการณท์ างการเมอื งและนำ� โลกเขา้ สโู่ ลกาภวิ ตั นท์ างเศรษฐกจิ และสงั คม แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ความขดั แยง้
ทางศาสนาและวฒั นธรรมไดก้ า้ วขนึ้ มามบี ทบาทและผลกระทบมากขนึ้ จากเหตกุ ารณก์ อ่ วนิ าศกรรมโดยกลมุ่
กอ่ การรา้ ยขา้ มชาตซิ ง่ึ เปน็ กลมุ่ อาหรบั หวั รนุ แรง ณ กรงุ นวิ ยอรก์ และกรงุ วอชงิ ตนั ดซี ี ในวันท่ี 11 กันยายน
ค.ศ. 2001 ท�ำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมากถึง 4,000 คน และถือเป็นจุดเร่ิมต้นของการเปลี่ยนแปลง
ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศที่ผลักดันให้สหรัฐอเมริกาหันมาด�ำเนินนโยบายแบบฝ่ายเดียว
บนฐานของผลประโยชน์ของประเทศของตนในด้านความมั่นคงแห่งชาติมากขึ้นและละท้ิงนโยบายแบบ
พหภุ าคลี ง กลา่ วคอื สหรฐั อเมรกิ าไดห้ นั กลบั มาทบทวนทา่ ทขี องตนเองตอ่ การใชอ้ าวธุ นวิ เคลยี รท์ เ่ี ปน็ การ
เตรียมการทีจ่ ะอนญุ าตใหม้ กี ารใช้อาวุธนิวเคลียรข์ น้ึ ใหมใ่ นรูปแบบทเ่ี รียกว่า สงครามนิวเคลยี รแ์ บบจำ� กัด
(Limited Nuclear War) กบั 7 ประเทศ ทสี่ หรฐั อเมรกิ าพจิ ารณาวา่ คกุ คามความมนั่ คงของสหรฐั อเมรกิ า
ไดแ้ ก่ อิรัก จนี รสั เซยี อิหรา่ น ลิเบีย เกาหลีเหนือ และซเี รีย โดยอดตี ประธานาธบิ ดี จอร์จ ดบั เบลิ ยู บุช
(George W. Bush) ไดแ้ ถลงรายงานการด�ำเนนิ งานของรฐั บาลในรอบปีต่อรฐั สภาสหรัฐอเมริกา (State
of the Union) โดยกล่าวว่า อิรัก อิหร่าน และเกาหลีเหนือเป็นแกนกลางของความช่ัวร้าย (Axis of
Evil) บริบทเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศในขณะน้ันจึงมีความตึงเครียดขึ้นเน่ืองจากสหรัฐอเมริกา
ประกาศหลกั ลทั ธบิ ชุ (Bush Doctrin) เปน็ แนวทางหรอื บรรทดั ฐานในการกำ� หนดบทบาทของสหรฐั อเมรกิ า
และระเบยี บการเมอื งโลกในยคุ ของการเผชญิ หนา้ กบั การกอ่ การรา้ ยขา้ มชาตใิ นยคุ ศตวรรษท่ี 21 เนอ่ื งจาก
ถอื ว่าเป็นภัยคุกคามทมี่ ตี อ่ ประเทศสหรฐั และประชาชนชาวอเมริกนั

       แมว้ า่ โลกกา้ วเขา้ สยู่ คุ โลกาภวิ ตั นภ์ ายใตร้ ะเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศแบบเสรนี ยิ มใหม่
ระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศยงั คงตอ้ งเผชญิ หนา้ กบั ความทา้ ทายหลากหลายรปู แบบซงึ่ ในทนี่ ี้
จะกลา่ วเจาะจงเฉพาะจดุ เปลย่ี นทสี่ ำ� คญั เทา่ นนั้ จดุ เปลยี่ นประการแรก เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ
ในยุคหลังสงครามเย็นแม้ว่าไม่ต้องเผชิญหน้ากับความขัดแย้งท่ีมีฐานมาจากทางอุดมการณ์ทางการเมือง
แตก่ ต็ อ้ งเผชญิ หนา้ กบั ความขดั แยง้ ทมี่ ฐี านมาจากความเชอื่ ทางศาสนาทไ่ี มไ่ ดเ้ พงิ่ เกดิ ขน้ึ หากแตม่ รี ากเหงา้
มายาวนานตงั้ แตย่ คุ อาณานคิ มในศตวรรษที่ 19 ผนวกกบั ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ โดยเฉพาะการแยง่ ชงิ
ทรัพยากรท่ีมีความส�ำคัญทางยุทธศาสตร์อย่างน�้ำมัน เป็นสาเหตุหนึ่งของเหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 9/11
ทก่ี รงุ นวิ ยอรก์ และกรงุ วอชงิ ตนั ดซี ขี องสหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ เปน็ จดุ เปลย่ี นสำ� คญั ของเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ ง
ประเทศในยุคหลังสงครามเย็นที่ท�ำให้ประเด็นเรื่องการเมืองระดับบนที่เน้นหนักในเร่ืองความม่ันคงและ
การทหารกลบั ข้ึนมามีบทบาทอกี คร้งั

       จุดเปล่ียนท่ีส�ำคัญประการต่อมาของเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศหลังหลังเหตุการณ์ 9/11
ใน ค.ศ. 2001 กค็ อื การเกดิ ขนึ้ ของวกิ ฤตเศรษฐกจิ ของสหรฐั อเมรกิ าทเ่ี รยี กนั วา่ วกิ ฤตซบั ไพรม์ (Subprime
Crisis) ที่เรมิ่ ต้นใน ค.ศ. 2007 วกิ ฤตน้เี กิดขนึ้ เนื่องจากปัญหาการปล่อยกใู้ ห้แกล่ ูกหนที้ ม่ี ีความน่าเช่ือถือ
ตำ่� กวา่ ระดบั ปกติ (Sub Prime) ทแี่ ผข่ ยายผลกระทบออกไปอยา่ งกวา้ งขวางเนอื่ งจากการสรา้ งนวตั กรรม
ทางการเงนิ ในรปู แบบใหมๆ่ เชน่ การนำ� สนิ เชอ่ื ซบั ไพรมไ์ ปแปลงเปน็ หลกั ทรพั ย์ (securitization) ซงึ่ ถกู ขาย
ใหก้ บั นกั ลงทนุ สถาบนั และกองทนุ เฮดจฟ์ นั ดท์ วั่ โลก ความเสย่ี งทางการเงนิ เกดิ ขน้ึ เมอื่ การเพมิ่ ขนึ้ ของอตั รา
การผิดนัดช�ำระหน้ีและการบังคับจ�ำนองของลูกหน้ีซับไพร์ม แม้ว่าปัญหาซับไพรม์จะเป็นปัญหาที่ปะทุใน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61