Page 52 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 52

3-42 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
ในเอเชยี รวมถึงการกา้ วข้ึนมามบี าทบาทของสาธารณรฐั ประชาชนจีน เกดิ เปน็ การแขง่ ขนั ในรปู แบบของ
ภูมิภาคนิยม (regionalism)

       ภายใต้ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศแบบเสรีนิยมแบบฝังรากภายหลังสงครามโลก
ครง้ั ท่ี 2 การลม่ สลายลงของสหภาพโซเวยี ตและคา่ ยสงั คมนยิ มยงั เปน็ การเปดิ โอกาสใหท้ นุ และบรรษทั ขา้ มชาติ
ทวบี ทบาทและอทิ ธพิ ลมากขน้ึ ผา่ นการเคลอื่ นยา้ ยการลงทนุ ในรปู แบบตา่ งๆ ไปยงั ภมู ภิ าคตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเสรี
และครอบคลุมมากข้ึนเพ่ือแสวงหาแหล่งวัตถุดิบ แหล่งลงทุน แหล่งการผลิต รวมถึงตลาดของสินค้า
จนท�ำให้เกดิ การเช่ือมโยงเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆ เข้าไว้ดว้ ยกันทงั้ ทางดา้ นการผลติ การลงทนุ และ
การเงิน

       ความเชอื่ มโยงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมในรปู แบบทเ่ี รยี กวา่ โลกาภวิ ตั นด์ งั กลา่ วนี้
สว่ นหนง่ึ เปน็ ผลกระทบมาจากการปรบั เปลยี่ นระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศจากเสรนี ยิ มแบบ
ฝงั รากไปเปน็ ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศแบบเสรนี ยิ มใหม่ (Neo-Liberalilsm) ทเี่ รม่ิ ตน้
จาก 2 ประเทศมหาอ�ำนาจของโลกเสรีนิยมคือ สหรัฐอเมริกาในยุคของอดีตประธานาธิบดี เรแกน และ
อดีตนายกรัฐมนตรีขององั กฤษในยุคของ แทตเชอร์ แนวคิดดงั กลา่ วมีอทิ ธิพลอยา่ งสูงในทศวรรษท่ี 1980
จนในที่สุดในอกี 1 ทศวรรษตอ่ มาได้เปลี่ยนรปู แปลงร่างไปจนมอี ิทธิพลและบทบาทขยายตัวไปทัว่ โลกใน
นามของฉนั ทมติวอชงิ ตันผ่านการดำ� เนินชุดของนโยบายทางเศรษฐกิจของสถาบันโลกบาลตา่ งๆ อันเป็น
องคก์ ารระหวา่ งประเทศทถ่ี กู กอ่ ตง้ั ขน้ึ มาตง้ั แตห่ ลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 โดยเฉพาะ กองทนุ การเงนิ ระหวา่ ง
ประเทศ ธนาคารโลก และความตกลงทวั่ ไปวา่ ดว้ ยภาษศี ลุ กากรและการคา้ ชดุ ของนโยบายแบบเสรนี ยิ มใหมน่ ี้
ได้ถกู น�ำเอาไปใช้ท่วั โลกโดยเฉพาะในหม่ปู ระเทศกำ� ลังพัฒนาในหลายภูมิภาค

       ดว้ ยเหตนุ ี้ รปู แบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศหลงั สงครามเยน็ จงึ เปลย่ี นแปลงจากรปู แบบ
เศรษฐกจิ การเมอื งในชว่ งสงครามเย็น กลา่ วคือ มกี ารเปล่ยี นแปลงจากแนวทางของเสรนี ิยมแบบฝงั รากที่
แบง่ การดำ� เนนิ การทางเศรษฐกจิ ออกเปน็ 2 สว่ นคอื การจดั ใหเ้ ศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศทมี่ ลี กั ษณะเสรนี ยิ ม
โดยเฉพาะการเปดิ เสรีทางการคา้ ส่วนเศรษฐกิจในประเทศปล่อยใหแ้ ต่ละประเทศดำ� เนนิ การได้โดยอิสระ
ซงึ่ โดยสว่ นใหญจ่ ะดำ� เนนิ นโยบายแบบเคนสท์ ภี่ าครฐั เขา้ ไปมบี ทบาทสำ� คญั การพฒั นาและกระตนุ้ การเตบิ โต
ของเศรษฐกจิ ผ่านการจัดสรรงบประมาณ การจัดให้มสี าธารณปู โภคตา่ งๆ มาเปน็ แนวทางเศรษฐกจิ แบบ
เสรนี ยิ มใหมท่ นี่ ำ� เอาชดุ ของแนวนโยบายแบบเสรนี ยิ มใหมม่ าใชก้ บั การดำ� เนนิ นโยบายเศรษฐกจิ ทงั้ ในและ
นอกประเทศพรอ้ มๆ ไปกับการจำ� กัดบทบาทของรัฐให้ลดน้อยมากทีส่ ดุ

       ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศแบบเสรนี ยิ มใหมน่ กี้ อ่ ตวั ขนึ้ ภายหลงั การเกดิ การตกตำ่�
ทางเศรษฐกจิ ครงั้ ใหญค่ รงั้ ท่ี 2 ใน ค.ศ. 1970 ภาวะตกตำ่� ทางเศรษฐกจิ ในครงั้ นแ้ี ตกตา่ งจากการตกตำ�่ ทาง
เศรษฐกจิ ครงั้ ใหญใ่ น ค.ศ. 1929 กลา่ วคอื ภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ�่ ครงั้ ใหญใ่ น ค.ศ. 1970 เกดิ สภาวะทเี่ รยี กวา่
ภาวะชะงกั งนั ทางเศรษฐกิจ หรอื stagflation กล่าวคอื เกดิ เงนิ เฟอ้ การว่างงาน และเศรษฐกิจตกต�่ำไป
พร้อมๆ กันท�ำให้ภาครัฐไม่สามารถด�ำเนินการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายแบบเคนส์ท่ีใช้การใช้จ่าย
ภาครฐั ไปกระตนุ้ เศรษฐกจิ ไดเ้ นอื่ งจากการใสเ่ งนิ เขา้ ไปในระบบจะยงิ่ ทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะเงนิ เฟอ้ เศรษฐกจิ ตกตำ่�  
และการวา่ งงานเพม่ิ มากขน้ึ ดว้ ยเหตนุ ้ี รฐั บาลของประเทศมหาอำ� นาจโดยเฉพาะสหรฐั อเมรกิ าและองั กฤษ
ได้ประกาศยอมรับข้อผิดพลาดของการใช้นโยบายแบบเคนส์ ยุติการใช้การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยภาครัฐ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57