Page 58 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 58
3-48 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
แนวตอบกิจกรรม 3.3.1
บริบทเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศในชว่ งหลังสงครามโลกเย็นเป็นช่วงเวลาทค่ี วามขดั แย้ง
ทางอุดมการณ์ลดบทบาทลงและมิติทางเศรษฐกิจมีบทบาทหลัก แนวทางเศรษฐกิจในช่วงน้ีอยู่บนฐาน
ของเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ท่ีให้ความส�ำคัญกับตลาดและลดบทบาทของรัฐลง เศรษฐกิจของโลก
มีความเชื่อมโยงกันผ่านกระบวนการโลกาภิวัตน์และการท�ำงานของแนวนโยบายแบบฉันทมติวอชิงตัน
ทำ� ให้บรรษัทขา้ มชาติมีบทบาทเพมิ่ มากข้ึน
เร่ืองที่ 3.3.2
ประเทศไทยในเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศหลังสงครามเย็น
ดังท่ีได้กล่าวไปแล้วในเร่ืองท่ี 3.2.2 แล้วว่าในทศวรรษท่ี 2530 ประเทศไทยได้เร่ิมเปลี่ยน
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศจากการพฒั นาอตุ สาหกรรมเพอ่ื ทดแทนการน�ำเขา้ ไปสกู่ ารพฒั นาอตุ สาหกรรม
เพ่ือการส่งออก สาเหตุส�ำคัญท่ีผลักดันให้ไทยหันมาด�ำเนินยุทธศาสตร์สนับสนุนการส่งออกอย่างจริงจัง
ก็สืบเนอ่ื งมาจากขอ้ จำ� กดั ของยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาอุตสาหกรรมเพอื่ ทดแทนการน�ำเขา้ ผนวกกับสภาวะ
ทางเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในชว่ งหลงั สงครามเยน็ ทท่ี ำ� ใหค้ วามขดั แยง้ ทางอดุ มการณท์ างการเมอื ง
ลดความส�ำคัญลงไป แต่กลับท�ำให้มิติทางเศรษฐกิจเพ่ิมความส�ำคัญข้ึน เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
โดยเฉพาะการแข่งขันกันระหว่างประเทศระหว่างประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจหลักๆ อย่างประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า ญ่ีปนุ่ และยโุ รปตะวันตก
นบั ตง้ั แตภ่ าวะเศรษฐกจิ ตกตำ�่ ในทศวรรษท่ี 2520 ไดส้ นิ้ สดุ ลง ประเทศไทยไดก้ า้ วสชู่ ว่ งเวลาของ
การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ และการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งไปสรู่ ะบบอตุ สาหกรรมอยา่ งรวดเรว็ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ตลอดช่วงทศวรรษที่ 2530 จนได้กับการยกย่องจากนานาประเทศและนักลงทุนต่างชาติให้เป็นประเทศ
ก�ำลังพัฒนาท่ีมีความเจริญเติบโตรวดเร็วท่ีสุดประเทศหน่ึงในโลกจากการที่ไทยมีอัตราการเติบโตทาง
เศรษฐกจิ ถึงรอ้ ยละ 11.6-13.3 ต่อปีในช่วง พ.ศ. 2531-2533 โดยอตั ราการเติบโตของผลติ ภัณฑม์ วลรวม
ประชาชาตขิ องไทยขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ ถงึ รอ้ ยละ 13.2 ใน พ.ศ. 2531 และยงั คงเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาโดยตลอด
โดยเฉพาะในช่วง พ.ศ. 2532-2533 นอกจากนี้ เศรษฐกิจไทยยังมีมูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม
เพิม่ ข้นึ ถงึ 6 เท่าระหว่าง พ.ศ. 2528-2532
ขอ้ ตกลงพลาซา่ ใน ค.ศ. 1985 สง่ ผลใหค้ า่ เงนิ เยนและเงนิ ตราสกลุ อน่ื ๆ ของประเทศอตุ สาหกรรม
ใหมข่ องเอเชยี เพม่ิ สงู ขน้ึ โดยเปรยี บเทยี บเมอื่ เทยี บกบั เงนิ ดอลลารส์ หรฐั ทำ� ใหศ้ กั ยภาพในการแขง่ ขนั ของ
ประเทศต่างๆ เหล่านี้ลดลง ผลักดันให้ต้องมีการเคลื่อนย้ายทุนและฐานการผลิตจากประเทศเหล่าน้ีมาสู่