Page 62 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 62

3-52 ไทยในเศรษฐกิจโลก
ออกร่างกฎหมายอกี 11 ฉบบั 20 ซ่งึ ถกู วิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการเปลย่ี นแปลงกติกาและกฎหมายของไทย
ให้เป็นไปในรูปแบบท่ีเอ้ือต่อผลประโยชน์ของบรรษัทข้ามชาติให้สามารถเข้ามาจัดการและใช้ทรัพยากร
ที่ดิน อสังหารมิ ทรพั ย์ ระบบสถาบันการเงนิ รฐั วิสาหกิจ และรากฐานกิจการอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม
ในระบบเศรษฐกิจไทยไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย (วรพล ธรรมกิ บุตร, 2544)

       หลังจากวิกฤตการณ์ต้มย�ำกุ้งอันเป็นวิกฤตการณ์ในภูมิภาคเอชียที่ก่อก�ำเนิดและส่งผลกระทบ
โดยตรงอยา่ งรนุ แรงต่อประเทศไทยแลว้ อีก 1 ทศวรรษต่อมา ไทยยงั ต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกจิ โลกใน
พ.ศ. 2551 ทรี่ จู้ กั กนั วา่ “วกิ ฤตแฮมเบอรเ์ กอร”์ ซง่ึ มสี าเหตพุ น้ื ฐานไมแ่ ตกตา่ งไปจากวกิ ฤตการณท์ างการเงนิ
ที่เกิดขึ้นในประเทศก�ำลังพัฒนาในช่วง พ.ศ. 2540 ท่ีรู้จักกันว่า “วิกฤตต้มย�ำกุ้ง” วิกฤตการณ์ดังกล่าว
เกิดจากภาวะท่ีนักเศรษฐศาสตร์เรียกว่า ภาวะฟองสบู่ คือ ภาวะที่ราคาสินค้าปรับตัวขึ้นไปสูงมากจนไร้
เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ หรือไม่ได้อิงอยู่กับมูลค่าท่ีแท้จริง ส�ำหรับภาวะฟองสบู่ท่ีเป็นต้นตอของวิกฤต
เศรษฐกิจใน พ.ศ. 2551 เริ่มต้นข้ึนจากฟองสบู่ที่เกิดจากการเก็งก�ำไรในตลาดอสังหาริมทรัพย์ของ
สหรัฐอเมริกาทสี่ ง่ ผลใหเ้ กิดวิกฤตซับไพรม์

       สำ� หรับผลกระทบของวกิ ฤตเศรษฐกจิ โลกใน พ.ศ. 2551 ทีม่ ตี ่อประเทศไทยน้ันสามารถแบ่งออก
ไดเ้ ปน็ 2 สว่ น สว่ นแรกคอื สว่ นของผลกระทบโดยตรงทม่ี ตี อ่ ภาคการเงนิ สว่ นทสี่ องคอื สว่ นของผลกระทบ
โดยอ้อมท่ีมีต่อเศรษฐกิจไทย ส�ำหรับผลกระทบโดยตรงต่อภาคการเงินของไทยถือว่ามีผลกระทบไม่มาก
เนอ่ื งจากไทยถอื ครองสนิ ทรพั ยท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั ซบั ไพรมห์ รอื ผลติ ภณั ฑท์ างการเงนิ รปู แบบใหมๆ่ ทเ่ี ปน็ สว่ น
ท่เี กีย่ วพนั กับวกิ ฤตทางเศรษฐกิจนอ้ ย คอื มีเพยี งร้อยละ 0.3 ของสินทรัพยท์ ั้งหมด และสนิ ทรพั ยด์ ังกลา่ ว
ไดถ้ กู ขายออกไปแล้ว นอกจากนี้ ภาคการเงนิ ไทยในชว่ งก่อนหน้าเกดิ วิกฤตการณ์ยังแข็งแกร่งเนอ่ื งจาก
มีฐานะเงินกองทุนท่ีเข้มแข็งและหนี้เสียอยู่ในระดับไม่มาก กล่าวคือภาคธนาคารไทยมีการด�ำรงทุนต่อ
สนิ ทรพั ยเ์ สย่ี ง (BIS ratio) ทง้ั ระบบ อยใู่ นเกณฑท์ ส่ี งู มาก คอื รอ้ ยละ 15.6 เมอื่ เทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐาน
ที่ร้อยละ 8.5 สัดส่วนของ Net NPL to total loan อยู่ในระดับต่�ำที่ร้อยละ 2.9 ณ ส้ินปี พ.ศ. 2551
(ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2551)

       สว่ นผลกระทบทางออ้ มทม่ี ตี อ่ เศรษฐกจิ ไทยกค็ อื ผลจากวกิ ฤตการเงนิ ของโลกทำ� ใหน้ กั ลงทนุ ตา่ งชาติ
ได้เทขายหนุ้ ไทยและนำ� เงนิ ออกนอกประเทศทำ� ใหด้ ชั นีราคาหลกั ทรพั ยใ์ น พ.ศ. 2551 ตกจาก 884.2 จดุ
ในเดือนพฤษภาคม มาต�่ำสุดท่ี 384.2 ในเดือน ตุลาคม แต่การลดลงของราคาหุ้นและเงินทุนไหลออก
สว่ นหนง่ึ มสี าเหตมุ าจากความปน่ั ปว่ นของการเมอื งภายในประเทศของไทยดว้ ย การมเี งนิ ทนุ ไหลออกส่งผล

         20 รา่ งกฎหมายดงั กลา่ วประกอบดว้ ย กลมุ่ รา่ งกฎหมายทเ่ี พม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารในการจดั การภาระหนสี้ นิ ทางธรุ กจิ
ของภาคเอกชน ประกอบด้วย ร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพมิ่ เตมิ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ (คดมี โนสาเร)่ ร่างพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพิ่มเตมิ ประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ (ขาดนดั ) และรา่ งพระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ (บงั คบั คด)ี
กลมุ่ รา่ งกฎหมายทอี่ ำ� นวยความสะดวกในการถอื ครองสทิ ธอิ ยอู่ าศยั ของชาวตา่ งประเทศในดนิ แดนไทยทปี่ ระกอบดว้ ย รา่ งพระราชบญั ญตั ิ
ใหใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายทดี่ นิ และรา่ งพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ และกลมุ่ สดุ ทา้ ยคอื กลมุ่ รา่ งพระราชบญั ญตั ขิ ยายสทิ ธปิ ระโยชนส์ ำ� หรบั
นกั ลงทนุ จากตา่ งประเทศ ซงึ่ ประกอบดว้ ย รา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารเชา่ อสงั หารมิ ทรพั ยก์ �ำหนดใหเ้ ปน็ ทรพั ยสทิ ธิ รา่ งพระราชบญั ญตั ิ
ทุนรฐั วิสาหกจิ และร่างพระราชบัญญตั กิ ารประกอบธรุ กิจของคนต่างดา้ ว
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67