Page 69 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 69
ประเทศไทยกับเศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ 3-59
ระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศในยุคหลังสงครามเย็นจึงเกิดปรากฏการณ์ที่ชี้ให้เห็นว่า
ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั กนั เปน็ ประเดน็ ทต่ี ดั ขา้ มพรมแดนของรฐั ชาติ เปน็ ประเดน็ ทขี่ า้ มไปจากความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั
ระหว่างประเทศพัฒนาแล้วและก�ำลังพัฒนาโดยเชื่อมโยงผู้คนจากสังคมต่างๆ ท่ัวทุกภูมิภาคของโลก
ซง่ึ เปน็ ผคู้ นจำ� นวนมากในระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศเขา้ ดว้ ยกนั จากสถานภาพทางเศรษฐกจิ
และสงั คมทด่ี อ้ ยกวา่ เนอ่ื งจากครอบครองสนิ ทรพั ย์ ความมงั่ คง่ั รายได้ และโอกาสทน่ี อ้ ยกวา่ เมอ่ื เทยี บกบั
ผู้คนจำ� นวนนอ้ ยในระบบเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศทม่ี สี ถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีดกี ว่า
เนือ่ งจากครอบครองสินทรัพย์ ความมง่ั คง่ั รายได้ และโอกาสทม่ี ากกว่า จนอาจกลา่ วได้ว่าประเด็นเรื่อง
ความไม่เท่าเทียมกันในยุคหลังสงครามเย็นได้ตัดข้ามพรมแดนของรัฐชาติโดยเชื่อมโยงผู้คนท่ีเข้าด้วยกัน
ผา่ นการตง้ั คำ� ถามและความไมพ่ งึ พอใจในการกระจายความมง่ั คง่ั ของระบบ25 ซงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ผา่ นการเกดิ
ขบวนการเคลอื่ นไหวทเ่ี รยี กวา่ ขบวนการยดึ ครอง (Occupy Movement)26 ทมี่ จี ดุ เรมิ่ ตน้ จากขบวนการ
ยึดครองวอลล์สตรีทในกรุงนิวยอร์กใน ค.ศ. 2011 ขบวนการยึดครองน้ีได้แพร่กระจายและขยายตัวไป
ครอบคลุมหลายมลรฐั ในสหรัฐอเมริกาและ 95 เมอื งใน 82 ประเทศทั่วโลก
นอกจากความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ในดา้ นรายไดแ้ ละการครอบครองทรพั ยส์ นิ อนั เกยี่ วเนอื่ งกบั ความมง่ั คง่ั
ทางเศรษฐกจิ แลว้ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ยงั ครอบคลมุ ถงึ มติ อิ นื่ ๆ ในเชงิ นามธรรม เชน่ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั
ระหวา่ งเชอ้ื ชาติ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งเพศสภาพ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งคนแตล่ ะรนุ่ เปน็ ตน้
ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ของกลมุ่ ตา่ งๆ ในมติ ติ า่ งๆ ในสงั คมนเี้ ปน็ ประเดน็ ทเี่ ชอื่ มโยงซง่ึ กนั และกนั และเชอื่ มโยง
กับการสร้างความมั่นคงของรัฐ ในยุคปัจจุบันในรูปแบบของความมั่นคงของมนุษย์ซึ่งได้กล่าวแล้วใน
เร่ืองที่ 3.1.3
25 ส่ิงท่ีควรพิจารณาก็คือการเช่ือมโยงของกลุ่มคนจากประเด็นปัญหาของความไม่เท่าเทียมกันในรูปแบบของขบวนการ
ยดึ ครองนจี้ ะสอดคลอ้ งกบั สง่ิ ทนี่ กั สงั คมวทิ ยาอยา่ ง มานเู อล คาสเทล (Manuel Castells) ไดเ้ สนอไวใ้ น The Rise of the Network
Society หรือไม่ว่า ในยุคของโลกาภิวัตน์ท่ีมีการปฏิวัติทางด้านข้อมูลและการสื่อสาร จะน�ำมาซึ่งรูปแบบการส่ือสารรูปแบบใหม่
ระหว่างผู้คนกลุ่มต่างๆ เป็นรูปแบบของเครือข่าย (Networks) ที่ไม่มีล�ำดับข้ันแต่เป็นการสื่อสารกันโดยใช้เครือข่ายของระบบ
อินเทอร์เน็ตและอีเมลเป็นเคร่ืองมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและสนับสนุนการเคลื่อนไหวของกลุ่มของตน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มท่ีสนใจ
ประเดน็ เรอ่ื งแรงงาน สิง่ แวดล้อม เพศสภาพ และความไมเ่ ท่าเทยี มกันในรูปแบบตา่ งๆ หรือเครอื ขา่ ยการเคล่ือนไหวของประชาชน
ในภมู ภิ าคต่างๆ ทไ่ี มม่ ผี นู้ ำ� หรอื การรวมศนู ย์ท่แี น่ชัดแต่กระจายและขยายไปในแนวราบ
26 ดูเพ่ิมเติมใน กุลลินี มุทธากลิน. Occupy Wall Street: ฉากหนึ่งในนิยายรักของทุนนิยมอเมริกัน. กรุงเทพธุรกิจ
(มมุ มองบ้านสามย่าน). 13 ตลุ าคม 2554.
กุลลินี มุทธากลิน. Occupy Movement: ฤๅจะเป็นการเริ่มต้นท่ีน�ำไปสู่จุดจบของเสรีนิยมใหม่. กรุงเทพธุรกิจ
(มุมมองบ้านสามย่าน). 1 ธนั วาคม 2554.
กุลลินี มุทธากลิน. อ่านค�ำแถลงนโยบายของโอบามาและแถลงการณ์ของ OWS. กรุงเทพธุรกิจ (มุมมองบ้าน
สามย่าน). 23 กุมภาพนั ธ์ 2555.