Page 29 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 29

ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ 3-19
       อย่างไรก็ตาม การศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์ในเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่จะกล่าวถึง
ในเรอื่ งที่ 3.1.3 น้ี จะใหภ้ าพจากการใชม้ ุมมองทางเศรษฐกิจเปน็ แกนกลางโดยกลา่ วถงึ มติ ติ ่างๆ ท่สี �ำคัญ
ในการศึกษาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้แก่ การค้าระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ และ
การเงนิ ระหวา่ งประเทศ โดยขยายเชอ่ื มโยงไปสมู่ ติ ทิ างการเมอื งระหวา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ ความมน่ั คงของรฐั
       เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ หมายถงึ การดำ� เนนิ การตดิ ตอ่ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศที่
ประกอบดว้ ย การคา้ การลงทนุ การเงนิ ดว้ ยเหตนุ ้ี การกลา่ วถงึ เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศจงึ เปน็ การพจิ ารณา
ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ที่ประเทศมีการท�ำธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศกับประเทศอื่นๆ เม่ือ
พจิ ารณาจากมมุ มองทางเศรษฐศาสตร์ แตล่ ะประเทศจะมกี ารพง่ึ พาการคา้ ระหวา่ งประเทศมากนอ้ ยแคไ่ หน
จะเห็นได้จากสัดส่วนของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศซ่ึงประกอบด้วยมูลค่าส่งออกและน�ำเข้าต่อมูลค่า
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ สัดส่วนดังกว่าเรียกว่า อัตราการเปิดประเทศ (Degree of Openness)
กลา่ วคอื ประเทศทม่ี อี ตั ราการเปดิ ประเทศสงู สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ประเทศนน้ั ๆ พงึ่ พาและขนึ้ ตอ่ ประเทศอน่ื ๆ
ผ่านการค้าระหว่างประเทศสูง ในทางกลับกัน ประเทศที่มีอัตราการเปิดประเทศต�่ำสะท้อนให้เห็นว่า
ประเทศนนั้ ๆ พงึ่ พาและขึน้ ต่อประเทศอ่ืนๆ ผ่านการคา้ ระหว่างประเทศตำ�่
       การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปล่ียนสินค้าและการบริการระหว่างประเทศ การค้า
ระหวา่ งประเทศเกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากแตล่ ะประเทศมที รพั ยากรธรรมชาตทิ แี่ ตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะทางกายภาพ
นอกจากน้ี แตล่ ะประเทศยังมคี วามสามารถและความเช่ยี วชาญในการผลติ สินค้าและบริการทแ่ี ตกตา่ งกัน
แนวนโยบายของแต่ละประเทศในด้านการค้าระหว่างประเทศแบ่งเป็น 2 รูปแบบคือ รูปแบบแรก ได้แก่
นโยบายการค้าแบบเสรีเปน็ แนวนโยบายทร่ี ฐั บาลของประเทศนนั้ ๆ สนับสนนุ ให้มกี ารค้าระหว่างประเทศ
แบบไมม่ สี ง่ิ กดี ขวางหรอื ขอ้ จำ� กดั เชน่ ไมม่ กี ารตง้ั กำ� แพงภาษขี าเขา้ ไมม่ กี ำ� หนดโควตาการนำ� เขา้ เปน็ ตน้
ส่วนรูปแบบที่สอง ได้แก่ นโยบายการค้าแบบคุ้มกันเป็นแนวนโยบายการค้าท่ีรัฐบาลนั้นๆ มีมาตรการ
ตา่ งๆ เพอ่ื จำ� กดั การนำ� เขา้ และสง่ ออกสนิ คา้ เชน่ การตง้ั กำ� แพงภาษี การกำ� หนดโควตาการนำ� เขา้ และสง่ ออก
การสนบั สนนุ ใหม้ กี ารผลติ สินค้าเพ่อื ใชภ้ ายในประเทศเองด้วยการใช้มาตรการตา่ งๆ
       การลงทุนระหวา่ งประเทศ หมายถึง การทีร่ ัฐบาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งๆ น�ำเงินไปลงทุน
เพื่อแสวงผลก�ำไรในอกี ประเทศหน่ึง การลงทุนระหวา่ งประเทศแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื ประเภทแรก
การลงทนุ ทางตรง เปน็ การลงทนุ ทผ่ี ลู้ งทนุ ไดม้ กี ารลงทนุ ทางกายภาพหรอื สรา้ งหนว่ ยการผลติ เชน่ โรงงาน
และกอ่ ใหเ้ กดิ การจ้างงานในประเทศอนื่ ๆ ประเภทสอง ไดแ้ ก่ การลงทนุ ทางอ้อม เปน็ การลงทุนท่ีผู้ลงทุน
ไม่ได้เข้าไปมีส่วนด�ำเนินกิจการหรือท�ำการผลิตโดยตรงแต่น�ำเงินทุนมาลงทุนในรูปเงินกู้ การซื้อขาย
หลักทรัพย์ หรอื พนั ธบตั ร
       ในการดำ� เนนิ การคา้ ขายและลงทนุ ระหวา่ งประเทศดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ รวมถงึ การกยู้ มื การชำ� ระหน้ี
และการให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศ เป็นกิจกรรมท่ีต้องมีการไหลเข้าและไหลออกของเงิน แต่
เนอื่ งจากแตล่ ะประเทศมกี ารใชเ้ งนิ ตราตา่ งสกลุ กนั จงึ ตอ้ งมกี ารแลกเปลย่ี นเงนิ ตราซง่ึ กนั และกนั ตามอตั รา
แลกเปลย่ี นทกี่ ำ� หนด และเมอ่ื ประเทศใดมกี ารเปลยี่ นแปลงอตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตรากจ็ ะมผี ลกระทบตอ่ การคา้
การลงทนุ ตลอดจนการปรับตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆ ตามไปด้วย การเงนิ ระหวา่ งประเทศ
จึงเกิดขนึ้ เพ่ือด�ำเนินการให้การไหลเข้าออกของเงนิ ตราสกุลตา่ งๆ เพื่อการทำ� ธุรกรรมตา่ งๆ เป็นไปอย่าง
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34