Page 24 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 24

3-14 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
ระหวา่ งประเทศจะมเี สถยี รภาพและสรา้ งความมง่ั คง่ั และเตบิ โตไดจ้ ะตอ้ งมกี ารจดั ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื ง
ระหวา่ งประเทศทเี่ หมาะสมผา่ นการจดั ตงั้ องคก์ รระหวา่ งประเทศในรปู แบบตา่ งๆ เพอ่ื ทำ� งานรว่ มกนั ในการสรา้ ง
และทำ� ใหร้ ะเบยี บเศรษฐกิจระหว่างประเทศนีด้ ำ� เนินไปได้ อย่างไรกต็ าม การสร้างและธำ� รงไวซ้ ึ่งระเบียบ
เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศนตี้ อ้ งอาศยั ความรว่ มมอื กนั ของประเทศตา่ งๆ โดยเฉพาะประเทศมหาอำ� นาจใน
ชว่ งเวลานั้นๆ

       แนวคิดเสรีนิยมของเคนส์จึงให้ความส�ำคัญกับท้ังบทบาทของตลาดและรัฐ กล่าวคือในขณะที่
โดยท่ัวไปแล้วเคนส์สนับสนุนบทบาทของตลาดในการค้าและการเงินระหว่างประเทศ เคนส์ยังคงเชื่อว่า
บทบาทของรฐั ยงั คงมคี วามจ�ำเปน็ และเปน็ ประโยชนใ์ นการจดั การกบั ปญั หาทเี่ กดิ จากมอื ทมี่ องไมเ่ หน็ ของ
ตลาด เช่น ปญั หาเงินเฟ้อและการวา่ งงาน แนวคิดของเคนสเ์ ป็นพืน้ ฐานในการจดั ระเบยี บระบบเศรษฐกจิ
การเมืองระหวา่ งประเทศหลงั สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทรี่ จู้ กั กนั ดวี า่ ระบบเบรตตัน วดู ส์ โดยจดั รูปแบบของ
การจดั องคก์ ารระหวา่ งประเทศทเี่ ขา้ มาชว่ ยดแู ลและจดั การสรา้ งระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ
เพ่ือควบคุมปัญหาและผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการปล่อยให้ระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศด�ำเนินไปโดย
อิสระ

       อย่างไรก็ตาม แนวคิดเสรีนิยมที่ให้ความส�ำคัญกับสิทธิเสรีภาพของปัจเจกบุคคลโดยให้รัฐเข้า
แทรกแซงเทา่ ทจ่ี ำ� เปน็ เรม่ิ มกี ารเปลย่ี นแปลงไปในยคุ หลงั โดยเฉพาะการยอ้ นกลบั ไปสเู่ สรนี ยิ มคลาสสกิ แบบ
อนรุ กั ษ์นิยม (Conservative Classical Liberalism) ทม่ี ีแนวคิดของสมธิ เป็นรากฐาน ผ่านแนวคดิ ของ
นกั เศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลอย่าง ฟรดิ รชิ ฟอน ฮาเยค (Friedrich A. Hayek) และ มิลตนั ฟรดี แมน
(Milton Friedman) ขณะที่ ฮาเยค พิจารณาว่าบทบาทท่ีเพ่ิมข้ึนของรัฐในด้านการประกันความมั่นคง
ทางเศรษฐกิจผา่ นการดำ� เนินนโยบายตา่ งๆ จะทำ� ให้สทิ ธิเสรภี าพสว่ นบุคคลลดนอ้ ยลง ฟรีดแมนเสนอว่า
การดำ� เนนิ นโยบายแบบเคนสท์ รี่ ฐั เขา้ มามบี ทบาทไมไ่ ดด้ ไี ปกวา่ แนวคดิ แบบพาณชิ ยน์ ยิ ม สงั คมนยิ ม หรอื
ฟาสซสิ ตเ์ นอื่ งจากรฐั ไดย้ ดึ กมุ เสรภี าพของปจั เจกบคุ คลเอาไวใ้ นมอื เพราะอำ� นาจถกู รวบเอาไวใ้ นมอื ของรฐั
และการรวบอ�ำนาจในมือของรัฐก็เป็นภัยคุกคามอย่างมากต่อเสรีภาพของปัจเจกบุคคล ในขณะท่ีระบบ
ทุนนยิ มท่ีเน้นการแข่งขันอย่างเสรใี นตลาดจะชว่ ยกระจายอ�ำนาจและรกั ษาเสรภี าพของปจั เจกบุคคล

       แนวคิดเสรีนิยมคลาสสิกแบบอนุรักษ์นิยมของฮาเยคและฟรีดแมนน้ีส่งอิทธิพลให้เกิดการด�ำเนิน
นโยบายท่ีเรียกว่า เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism) ในยุคของอดีตนายกรัฐมนตรีมากาเร็ต แทตเชอร์
(Margaret Thatcher) ของอังกฤษ และอดีตประธานาธิบดีโรนัล เรแกน (Ronald Reagan) ของ
สหรัฐอเมริกาในทศวรรษที่ 1980 แนวนโยบายเสรีนิยมใหม่นี้ภายหลังได้ขยายขอบเขตไปเป็นฉันทมติ
วอชงิ ตนั (Washington Consensus) ซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลครอบงำ� การดำ� เนนิ นโยบายทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
ก�ำลังพัฒนาผ่านการด�ำเนินงานขององค์กรโลกบาลอย่างธนาคารโลกและองค์กรการเงินระหว่างประเทศ
(รังสรรค์ ธนะพรพันธุ,์ 2548) ดังจะไดก้ ล่าวต่อไปในเรอ่ื งที่ 3.3.1

       แมว้ า่ พวกเสรนี ยิ มจะใหค้ วามสำ� คญั กบั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปจั เจกบคุ คล และมคี วามระแวดระวงั
ต่อการเข้ามามีบทบาทของรัฐ ในปัจจุบันพวกเสรีนิยมก็ยังเห็นว่าความจ�ำเป็นในการแทรกแซงของรัฐ
โดยเฉพาะบทบาทในการลดความไม่เท่าเทียมกันในสังคม แม้ว่าจะมีข้อถกเถียงกันว่านโยบายแบบไหน
ของรัฐที่จะก่อใหเ้ กดิ การกระจายรายไดท้ ีเ่ ท่าเทยี มกัน นอกจากน้ี พวกเสรีนยิ มยงั เหน็ วา่ รัฐควรมีบทบาท
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29