Page 23 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 23

ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ 3-13
       โดยพน้ื ฐานแลว้ แนวคดิ แบบเสรนี ยิ มมกี ารมองปจั เจกบคุ คลและรฐั ตา่ งไปจากแนวคดิ พาณชิ ยน์ ยิ ม
กล่าวคือโดยรากฐานแล้วพวกเสรีนิยมเชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติท่ีค�ำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัว (Self-
interest) ถงึ แม้วา่ การค�ำนึงถงึ ประโยชน์ส่วนตวั จะท�ำใหเ้ กิดการแข่งขัน แตก่ ารแข่งขนั ที่เกดิ ข้นึ กเ็ ปน็ ไป
ในทางสร้างสรรค์เพราะถูกช้ีน�ำโดยเหตุผลมิใช่อารมณ์ ด้วยเหตุนี้ แนวคิดเสรีนิยมจึงพิจารณาว่าสังคม
มลี กั ษณะของเกมทสี่ รา้ งผลดตี อ่ ทกุ ฝา่ ย (Positive-sum game) ซ่ึงต่างจากมุมมองของแนวคิดพาณิชย์
นิยมที่มองว่า การได้ประโยชน์ของฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงเป็นการเสียประโยชน์ของอีกฝ่ายหน่ึง ในรูปแบบของ
เกมที่มีผลรวมเปน็ ศูนย์
       นอกจากน้ี แนวคิดเสรีนิยมยังพิจารณาว่าความตึงเครียดพ้ืนฐานของสังคมเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับ
ตลาด เปน็ ความขดั แยง้ ระหวา่ งการใชอ้ ำ� นาจของรฐั และสทิ ธสิ ว่ นบคุ คล เปน็ ความขดั แยง้ ระหวา่ งการบงั คบั
(Coercion) กับเสรีภาพ (Freedom) และเม่ือให้เลือกระหว่างรัฐกับตลาด พวกเสรีนิยมเลือกตลาด ซ่ึง
หมายรวมถึงการยอมรับในสิทธิส่วนบุคคลโดยเฉพาะสิทธิในการครอบครองทรัพย์สิน (กรรมสิทธิ์ส่วน
บคุ คล) และเสรภี าพสว่ นบคุ คล แตก่ ารยอมรบั ถงึ ความสำ� คญั ของตลาดเสรนี นั้ โดยปกตแิ ลว้ กเ็ กดิ ควบคไู่ ป
การตระหนกั ถึงความจ�ำเป็นและความส�ำคัญของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
       ส�ำหรับพวกเสรีนยิ มแลว้ ประเทศต่างๆ ในโลกไมส่ ามารถแยกขาดออกจากกนั ดว้ ยผลประโยชน์
สว่ นตน เพราะแต่ละประเทศตา่ งก็เปน็ หนึ่งในสมาชกิ ของระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศที่เรียก
ไดว้ า่ เปน็ สงั คมสากลทมี่ ผี ลประโยชนร์ ว่ มกนั จากการตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ นั ในดา้ นตา่ งๆ โดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกจิ
โดยมีองค์กรระหว่างประเทศอย่างเช่น องค์กรสหประชาติเป็นผู้ดูแลให้เกิดเสรีภาพ ความรุ่งเรือง และ
สันติภาพแก่สังคมระหว่างประเทศ ดังนั้น ความคิดของพวกพาณิชย์นิยมที่ว่าโดยธรรมชาติแล้วประเทศ
ต่างๆ ต่างค�ำนึงถึงประโยชน์ทางการเมืองและเศรษฐกิจของตนจึงต้องมีการแข่งขันกันโดยมีฝ่ายหน่ึงได้
ประโยชน์และฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ จึงก่อให้เกิดความขัดแย้งและมักจะน�ำไปสู่สงคราม จึงเป็นแนวคิด
ทีไ่ มส่ มเหตุสมผล แมว้ า่ ต่อมา นักคิดเสรนี ิยมอยา่ ง จอหน์ สจ๊วต มลิ ล์ (John Stuart Mill) จะยอมรับ
ว่าการปล่อยให้ตลาดหรือกลไกราคาด�ำเนินการโดยไม่มีการควบคุมเลยอาจจะท�ำให้เกิดผลกระทบของ
ความลม้ เหลวของตลาด (Market Failures) เช่น ความไมเ่ ท่าเทียมกัน ดังนน้ั รฐั ควรจะเขา้ ไปแทรกแซง
หรอื ควบคมุ เพอ่ื ลดความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั นี้ แตก่ ารเขา้ ไปแทรกแซงหรอื ควบคมุ ของรฐั ตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งจำ� กดั
เทา่ ทจี่ ำ� เปน็ และเปน็ การเตมิ เตม็ การทำ� งานของตลาดเพอ่ื ลดผลกระทบจากการดำ� เนนิ การของตลาดเทา่ นนั้
ในขณะทเ่ี คนส์ วพิ ากษแ์ นวคดิ ทป่ี ลอ่ ยใหก้ ารดำ� เนนิ การของตลาดเปน็ อสิ ระมากจนเกนิ ไปเนอ่ื งจากเชอื่ วา่
หากปล่อยใหป้ ัจเจกบุคคลดำ� เนินการตดั สินใจโดยอิสระ ความมเี หตุมีผลและความมีประสทิ ธิภาพจะไมไ่ ด้
เกิดในทุกสถานการณ์อย่างที่พวกเสรีนิยมสุดข้ัวเชื่อ เน่ืองจากในบางสถานการณ์โดยเฉพาะสถานการณ์
ที่มีความไม่แน่นอนท่ีเอ้ือให้ปัจเจกบุคคลเลือกใช้ส่ิงท่ีเรียกว่า สัญชาตญาณของสัตว์หรือฝูง (animal
spirits) ปัจเจกบุคคลมักมีการตัดสินใจที่ไม่สมเหตุสมผลและสร้างความเสียหายแก่ส่วนรวม ในกรณีน้ี
รฐั ควรจะเข้ามามีบทบาทแทรกแซงเพ่ือปอ้ งกันและแกไ้ ขผลกระทบเหล่าน้ี
       แนวคดิ เสรนี ยิ มแบบเคนสม์ องวา่ ในระดบั ประเทศ รฐั ตอ้ งเขา้ ไปมบี ทบาทในการกำ� กบั ควบคมุ ดแู ล
เพ่ือให้ตลาดด�ำเนินงานไปอย่างมีเสถียรภาพเพ่ือให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง แนวคิดดังกล่าว
ถกู ขยายออกไปเปน็ พนื้ ฐานของเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศโดยการพจิ ารณาวา่ เศรษฐกจิ การเมอื ง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28