Page 18 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 18
3-8 ไทยในเศรษฐกิจโลก
แนวตอบกิจกรรม 3.1.1
การศกึ ษาเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศมพี ฒั นาการพรอ้ มๆ ไปกบั การเปลย่ี นแปลงของระบบ
เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ จากการให้ความส�ำคัญกับบทบาทของรัฐและมิติความขัดแย้งทาง
การเมอื งมาเปน็ การใหค้ วามสำ� คญั กบั มติ ทิ างเศรษฐกจิ รวมถงึ บทบาทของบรรษทั ขา้ มชาติ จากการพจิ ารณา
เศรษฐกจิ การเมืองระหวา่ งประเทศขยายขอบเขตมาเป็นการพจิ ารณาเศรษฐกิจการเมืองโลก
เรื่องที่ 3.1.2
แนวคิดทฤษฎีของเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
ในเร่ืองที่ 3.1.2 นี้จะพิจารณาถึงแนวคิดทฤษฎีของเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ เพื่อเป็น
พน้ื ฐานสำ� หรบั พิจารณาโครงสรา้ งของเศรษฐกจิ การเมืองระหวา่ งประเทศในเรอ่ื งที่ 3.1.3 และสถานะของ
ประเทศไทยในเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในตอนที่ 3.2 และ 3.3 เนอ่ื งจากการพจิ ารณาโครงสรา้ ง
เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศและสถานะของประเทศไทยในเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
ไม่อาจแยกขาดจากแนวคิดทฤษฎีในการศึกษาเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ เพราะแต่ละแนวคิด
ทฤษฎตี า่ งกม็ แี นวทางการพจิ ารณาเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศทแ่ี ตกตา่ งกนั ไมว่ า่ จะเปน็ หนว่ ยใน
การวเิ คราะห์ รูปแบบความสัมพนั ธ์ มมุ มองเกยี่ วกบั รัฐ
โดยทวั่ ไปแลว้ แนวคดิ ทฤษฎที ใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาเศรษฐกจิ การเมอื งในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ
สามารถแบง่ เปน็ กลมุ่ ใหญๆ่ ได้ 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎกี ระแสหลกั และกลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎกี ระแสรอง
ซง่ึ เปน็ กลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎที างเลอื ก2 สำ� หรบั กลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎกี ระแสหลกั ของเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ ง
ประเทศประกอบไปดว้ ย 3 แนวคดิ ไดแ้ ก่ (1) แนวคดิ สจั นยิ ม (Realism) (2) แนวคดิ เสรนี ยิ ม (Liberalism)
และ (3) แนวคดิ โครงสรา้ งนิยม (Structuralism) แนวคิดทง้ั 3 นี้ แนวคิดท่ีเกา่ แก่และทรงอิทธิพลท่สี ดุ
คือ แนวคดิ สัจนิยม
อยา่ งไรกต็ าม ในทน่ี จ้ี ะกลา่ วถงึ เฉพาะกลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎกี ระแสหลกั ทใ่ี ชก้ นั ในเศรษฐกจิ การเมอื ง
ระหว่างประเทศเท่านั้น เพื่อให้เข้าใจในเบ้ืองต้นว่าความแตกต่างกันทางแนวคิดทฤษฎีสะท้อนให้เห็น
ความแตกต่างกันในประเด็นการวิเคราะห์ เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ และยังสะท้อนถึงการให้คุณค่าและ
ความคาดหวัง รวมถึงชดุ ของแนวนโยบายที่แตกต่างกันด้วย ตวั อยา่ งเชน่ แนวคดิ เสรนี ิยมไม่เพยี งแต่ใช้
ทฤษฎีและสมมตฐิ านของเศรษฐศาสตร์นโี อคลาสสิก (Neoclassical Economics) มาเปน็ เคร่อื งมือที่ใช้
2 กลุ่มแนวคิดทฤษฎีกระแสรองประกอบไปด้วยส�ำนักคิดต่างๆ ท่ีหลากหลาย แนวคิดที่ส�ำคัญได้แก่ แนวคิดประกอบ-
สรา้ งนิยม (Contructivism) แนวคดิ ที่ศกึ ษาเพศสภาวะ (Gender Study) แนวคิดท่ีคำ� นึงถึงสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmentalism)
แนวคดิ พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist Economics)