Page 22 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 22

3-12 ไทยในเศรษฐกิจโลก
การจำ� กดั บทบาทของรฐั ใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ เพราะอำ� นาจของปจั เจกบคุ คลเปน็ อกี ทางเลอื กหนง่ึ ของการคานอ�ำนาจ
ทมี่ แี นวโนม้ ทจี่ ะฉอ้ ฉลของรฐั กลา่ วคอื รฐั สำ� หรบั สมธิ จะมบี ทบาทจำ� กดั และครอบคลมุ เพยี ง 3 ดา้ นเทา่ นน้ั
คอื การรกั ษาความสงบภายใน การปกป้องประเทศจากการรุกรานภายนอก และการจดั บรกิ ารสาธารณะ
ทจ่ี �ำเป็น รฐั และอ�ำนาจของรฐั ทแ่ี นวคดิ เสรนี ิยมของสมธิ ตง้ั คำ� ถามก็คือ รัฐท่ีด�ำเนินนโยบายพาณิชยน์ ิยม
(Mercantilist State) ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 18 น่ันเอง

       ในดา้ นการคา้ ระหวา่ งประเทศ สมธิ พจิ ารณาวา่ การคา้ เสรหี รอื การไมม่ กี ารกดี กนั ทางการคา้ จะนำ� มา
ซง่ึ ผลประโยชนส์ งู สดุ ของประเทศดว้ ยการใชแ้ นวคดิ ของการไดเ้ ปรยี บโดยสมั บรู ณ์ (Absolute Advantage)
กล่าวคือการค้าขายโดยเสรีจะท�ำให้ประเทศมีสินค้าและบริการปริมาณมากขึ้นและราคาย่อมเยาลง จึง
ไม่ต้องการให้มีการสร้างอุปสรรคเพ่ือกีดกันทางการค้าไม่ว่าจะเป็นก�ำแพงภาษีหรือการก�ำหนดโควต้า
ตัวอย่างเช่น การสนับสนุนให้มีการยกเลิกกฎหมายธัญพืช (Corn Laws) ของอังกฤษ ใน ค.ศ. 1846
แนวคิดเรื่องการได้เปรียบโดยสัมบูรณ์อันเกิดจากการค้าระหว่างประเทศของสมิธพัฒนาต่อเนื่องมาเป็น
แนวคิดเร่ืองความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) ของเดวิด ริคาร์โด (David
Ricardo) ท่ีพจิ ารณาวา่ แมป้ ระเทศบางประเทศจะไมไ่ ดเ้ ปรยี บโดยสมั บรู ณจ์ ากการคา้ ระหวา่ งประเทศกบั
ประเทศใดเลย แต่ประเทศดังกล่าวก็ยังสามารถได้ประโยชน์จากความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบกับบาง
ประเทศ กล่าวโดยสรุป แนวคิดเสรีนิยมเช่ือว่าประเทศต่างๆ จะได้รับประโยชน์ร่วมกันจากการเปิดให้มี
การค้าเสรีระหวา่ งประเทศ

       ดว้ ยเหตนุ ้ี แนวคดิ แบบเสรนี ยิ มจงึ เชอ่ื ในสทิ ธแิ ละเสรภี าพของปจั เจกบคุ คล มเี ปา้ หมายทจ่ี ะปลดปลอ่ ย
ปจั เจกบคุ คลจากกดขขี่ องรฐั และจากความหวาดกลวั การแทรกแซงของรฐั จงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั บทบาทของ
ปจั เจกบคุ คลและการทำ� งานของตลาดเสรี แนวคดิ เสรนี ยิ มแบบดงั้ เดมิ (Classical Liberals) จงึ เปน็ แนวคดิ
ทสี่ รา้ งความเปลย่ี นแปลงและเปน็ แนวคดิ ทป่ี ฏวิ ตั ทิ างความคดิ ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18 เนอื่ งจากตอ้ งการลด
บทบาทและความสำ� คญั ของอำ� นาจสว่ นกลางของรฐั แตใ่ หค้ วามสำ� คญั กบั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปจั เจกบคุ คล
อย่างไรก็ตาม ภายหลงั สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 สบื เนอื่ งมาจากถงึ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่� ครง้ั ใหญ่ใน ค.ศ. 1929
แนวคดิ เสรนี ยิ มแบบดงั้ เดมิ ทลี่ ดบทบาทของรฐั และวางใจตอ่ การทำ� งานของตลาดเสรถี กู ตงั้ คำ� ถาม แนวคดิ
เสรีนิยมของเคนส์ (John Maynard Keynes) ไดข้ น้ึ มามบี ทบาทแทนท่ีแนวคิดเสรีนิยมแบบดง้ั เดมิ

       ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 แนวคดิ เสรนี ยิ มแบบดงั้ เดมิ มกี ารปรบั ตวั โดยเนน้ การเขา้ มามบี ทบาท
ของรัฐและสถาบันระหว่างประเทศต่างๆ แนวคิดนี้มีบทบาทส�ำคัญในการจัดระเบียบเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศในชว่ งหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ผ่านการด�ำเนินงานขององค์กรและสถาบนั ระหว่างประเทศตา่ งๆ
ภายใต้ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศทรี่ ้จู ักกันในนามระบบเบรตตนั วดู ส์ (Bretton Woods
System) โดยปรับเปล่ียนไปสู่แนวคิดแบบเสรีนิยมใหม่ที่มีอิทธิพลอย่างมากใน 2 ประเทศที่เป็นผู้น�ำใน
ค่ายเสรีนิยม ได้แก่ สหรฐั อเมรกิ าและอังกฤษในปลายทศวรรษท่ี 1970 และทศวรรษที่ 1980 และขยายตวั
ไปเปน็ แนวคดิ กระแสหลกั ในระบบเศรษฐกจิ การเมอื งโลกทม่ี อี ทิ ธพิ ลอยา่ งยงิ่ ตอ่ ทศิ ทางการดำ� เนนิ นโยบาย
ของประเทศกำ� ลงั พฒั นาในภมู ภิ าคตา่ งๆ ในรปู แบบทเ่ี รยี กวา่ ฉนั ทมตวิ อชงิ ตนั (Washington Consensus)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27