Page 30 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 30

3-20 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
มเี สถยี รภาพ ผา่ นการสรา้ งสถาบนั การเงนิ ระหวา่ งประเทศเพอื่ จดั การดแู ลใหร้ ะบบการเงนิ ระหวา่ งประเทศ
มเี สถยี รภาพโดยปราศจากการแขง่ ขนั กนั ลดอตั ราแลกเปลยี่ น ตวั อยา่ งของสถาบนั การเงนิ ระหวา่ งประเทศ
เช่น กองทุนการเงินระหว่างประเทศท่ีก่อตั้งขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม
ความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ อ�ำนวยความสะดวกทางการค้า ท�ำให้การแลกเปล่ียนเงินตรา
ระหว่างประเทศมเี สถียรภาพ และชว่ ยขจัดปญั หาความไมส่ มดลุ ของดุลการชำ� ระเงินของประเทศตา่ งๆ

       เมอ่ื กลา่ วถงึ บทบาทและความสำ� คญั ของการคา้ การลงทนุ และการเงนิ ระหวา่ งประเทศซงึ่ เปน็ มติ ิ
ตา่ งๆ ท่มี ีความเช่อื มโยงกนั ในเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศแล้ว ตวั แสดงสำ� คัญท่ีมีบทบาทหลักในเศรษฐกิจ
ระหวา่ งประเทศกค็ อื บรรษทั ขา้ มชาติ (Multinational Corporations: MNCs) ซงึ่ มคี วามสำ� คญั มากขน้ึ
ในระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในฐานะทเ่ี ปน็ องคก์ รทางเศรษฐกจิ ทด่ี ำ� เนนิ กจิ กรรมการผลติ ใน
สองประเทศข้ึนไปโดยจะมีส�ำนักงานใหญ่อยู่ในประเทศแม่ (Home country) และมีบริษัทลูกต้ังอยู่ใน
ประเทศผรู้ บั การลงทนุ (Host country) การขยายสาขาของบรรษทั ขา้ มชาตไิ ปลงทนุ ทำ� การผลติ ในประเทศ
ตา่ งๆ นั้นเรียกวา่ การลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ดังท่ีไดก้ ล่าวไปแลว้

       อยา่ งไรกต็ าม ลอี อง กรนุ เบริ ก์ (Leon Grunberg) พจิ ารณาวา่ การดำ� เนนิ งานของบรรษทั ขา้ มชาติ
ส่งผลท้ังในทางบวกและในทางลบต่อท้ังประเทศแม่และประเทศผู้รับการลงทุน โดยผลกระทบทางบวก
ท่ีบรรษัทข้ามชาติมีต่อประเทศผู้รับการลงทุน ได้แก่ การลงทุนของบรรษัทข้ามชาติช่วยในการถ่ายโอน
เทคโนโลยี ผลิตภณั ฑ์ ทุนการเงิน และเทคนิคการบรหิ ารจัดการไปยังประเทศผู้รับการลงทุน การเขา้ มา
ของบรรษัทข้ามชาติช่วยให้เกิดการเติบโตของธุรกิจรายอื่นๆ ในประเทศผู้รับการลงทุนโดยเฉพาะธุรกิจ
ตอ่ เนอื่ งทป่ี อ้ นวตั ถดุ บิ แกบ่ รรษทั ขา้ มชาติ นอกจากนี้ การเขา้ มาของบรรษทั ขา้ มชาตชิ ว่ ยกระตนุ้ ใหน้ กั ธรุ กจิ
ในประเทศผรู้ บั การลงทนุ ตนื่ ตวั ในการพยายามแขง่ ขนั กบั บรรษทั ขา้ มชาติ ยงิ่ กวา่ นน้ั บรรษทั ขา้ มชาตชิ ว่ ย
ให้สภาวะดุลการช�ำระเงินของประเทศผู้รับการลงทุนดีขึ้น เน่ืองจากการเข้ามาลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ
ทำ� ใหป้ ระเทศผรู้ บั การลงทนุ นำ� เขา้ สนิ คา้ นอ้ ยลงและสง่ ออกสนิ คา้ ไดม้ ากขนึ้ (Balaam and Veseth, 2005)

       สว่ นผลกระทบในทางลบทบี่ รรษทั ขา้ มชาตสิ ง่ ผลตอ่ ประเทศผรู้ บั การลงทนุ ไดแ้ ก่ บรรษทั ขา้ มชาติ
ส่วนใหญ่ต้องการเห็นเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศท่ีรับการลงทุนเป็นหลักเพ่ือ
ประโยชนใ์ นการลงทนุ ของตน จงึ ไมส่ นใจวา่ ประเทศเหลา่ นน้ั มกี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยหรอื ไม่
มีการเคารพสิทธิมนษุ ยชนมากน้อยเพียงใด นอกจากนี้ บรรษัทข้ามชาตยิ งั ใชเ้ ทคโนโลยชี ้ันสูงในการผลิต
จนทำ� ใหไ้ มต่ อ้ งพงึ่ พาแรงงานมากนกั สง่ ผลใหอ้ ตั ราการจา้ งงานในประเทศผรู้ บั การลงทนุ ไมเ่ พม่ิ ขนึ้ เทา่ ทคี่ วร
และบรรษัทข้ามชาติก็มักจะหวงความรู้ด้านเทคโนโลยีและไม่ถ่ายทอดให้กับประเทศผู้รับการลงทุนอย่าง
เตม็ ท่ี นอกจากนี้ การเนน้ การผลติ เพอ่ื การสง่ ออกแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว ทำ� ใหก้ ารลงทนุ ของบรรษทั ขา้ มชาติ
ไมเ่ กดิ ผลกระทบภายนอกในทางบวกตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศผรู้ บั การลงทนุ อยา่ งทคี่ าดหวงั ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั
บรรษทั ขา้ มชาตมิ กั จา้ งแรงงานดว้ ยคา่ แรงราคาถกู และใหส้ วสั ดกิ ารแกแ่ รงงานอยา่ งไมเ่ พยี งพอ รวมท้ังยัง
สรา้ งปัญหาส่ิงแวดล้อมอกี ด้วย

       โดยทวั่ ไป เมอ่ื พจิ ารณาถงึ มติ ทิ างดา้ นการเมอื งระหวา่ งประเทศประเดน็ ส�ำคญั ทไ่ี ดร้ บั การพจิ ารณา
ก็คือแนวคิดเกี่ยวกับความม่ันคง ซ่ึงค�ำจ�ำกัดความของความม่ันคงแบบด้ังเดิม (Traditional Security)
ก็หมายถึง ความมั่นคงของรัฐอันประกอบด้วยรัฐและดินแดน ซ่ึงส่วนใหญ่ภัยคุกคามก็มาจากภัยคุกคาม
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35