Page 144 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 144
5-18 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
ด้วยลักษณะของภูมิประเทศท่ีพื้นท่ีส่วนใหญ่ของประเทศเป็นภูเขาสูงประกอบกับมีกลุ่มชาติพันธุ์
จำ� นวนมากและมกี ารกระจายตวั ของชมุ ชนเปน็ ชมุ ชนขนาดเลก็ จำ� นวนมากอยโู่ ดยทวั่ ไปจงึ เปน็ ภาระของรฐั บาล
ในการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานท้ังทางเศรษฐกิจและสังคมให้เพียงพอและทั่วถึง ต้นทุนการลงทุน
ในการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานตอ่ หนว่ ยจงึ สงู มากเมอ่ื เทยี บกบั การใชป้ ระโยชน์ ในขณะทร่ี ายไดห้ ลกั ของประเทศ
มาจากภาษี การสมั ปทาน และการขายพลงั งานใหแ้ กป่ ระเทศเพอ่ื นบา้ นและแมภ้ ายหลงั จะมรี ายไดจ้ ากการสง่ เสรมิ
การท่องเที่ยวแต่รายได้ท่ีได้รับก็ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ดังน้ัน
จงึ ยงั คงมคี วามขาดแคลนโครงสรา้ งพน้ื ฐานทงั้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมอยโู่ ดยทว่ั ไปทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ
ไม่วา่ จะเป็น ถนนหนทาง ประปา โทรศพั ท์ โรงเรียน โรงพยาบาล ดว้ ยเหตุน้ีรฐั บาลลาวจึงยงั คงเน้นการส่งเสรมิ
การลงทนุ จากตา่ งประเทศ รวมถงึ การกระตน้ และสง่ เสรมิ ดา้ นการทอ่ งเทยี่ วทงั้ นเ้ี พอ่ื แสวงหาเงนิ ทนุ ในการพฒั นา
ประเทศ
อย่างไรก็ตามแม้ชุมชนส่วนใหญ่ในประเทศลาวจะประสบปัญหาการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐาน
ทงั้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ แตจ่ ดุ เดน่ ของชมุ ชนในลาวคอื แรงเกาะเกยี่ วกนั ภายใน
ชุมชนซ่ึงยังมีอยู่สูงจากปัจจัยด้านความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ความเช่ือและวัฒนธรรมอันเป็นหนึ่งเดียวกัน
ความสามคั คแี ละชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู กนั ยงั มอี ยสู่ งู ซงึ่ สง่ิ เหลา่ นจ้ี ะเปน็ ตน้ ทนุ ทางสงั คมในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นา
ต่อไปในอนาคต แต่อย่างไรก็ตามพลังขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนชนบทของลาวก็ยังต้องอาศัยปัจจัยเก้ือหนุน
จากภายนอกเพื่อขับเคลือ่ นการพัฒนาตอ่ ไป
เศรษฐกิจปัจจุบนั ของลาว
เศรษฐกิจของ สปป.ลาวมกี ารเจริญเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ งในช่วงเวลากว่า 20 ปที ่ีผา่ นมา นบั ตัง้ แต่
ปรับเปล่ียนระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมสู่ระบบเศรษฐกิจเสรีแบบตลาดเม่ือปี 2529 เศรษฐกิจ สปป.ลาว
ขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในอตั ราเฉลย่ี รอ้ ยละ 6.2 ตอ่ ปี นบั เปน็ ประเทศทม่ี อี ตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ สงู ทส่ี ดุ
ในกลุ่มประเทศอาเซียนทั้งน้ีปี 2556 เศรษฐกิจ สปป.ลาวมีอัตราการเจริญเติบโต (GDP) สูงถึงร้อยละ 7.6
ซ่ึงสูงมากกวา่ จนี ท่ีมอี ตั ราการเจริญเตบิ โตรอ้ ยละ 7.5 ในปีเดยี วกนั ทวา่ เศรษฐกจิ สปป.ลาวประสบกบั การขาดดุล
บัญชเี ดนิ สะพดั ในระดับสงู ถงึ รอ้ ยละ 21.9 ของ GDP เน่อื งจากความตอ้ งการนำ� เขา้ สินคา้ และบริการทเี่ พม่ิ ขึ้น
และมีขอ้ จ�ำกดั ด้านศกั ยภาพการผลิตเพ่อื การส่งออก
สปป.ลาวเป็นค่คู า้ สำ� คัญรายหน่งึ ของไทย ไทยได้ดุลการค้ามาโดยตลอด สปป.ลาวส่งออกและน�ำเข้า
สินค้ากับไทยเป็นอันดับหน่ึง สินค้าหลักท่ี สปป.ลาวส่งออก คือ แร่ทองค�ำ ทองแดง และพลังงานไฟฟ้า
ส่วนสินค้าน�ำเขา้ สำ� คัญ ไดแ้ ก่ นำ้� มนั รถยนตแ์ ละส่วนประกอบ การส่งออกของ อุตสาหกรรมหลกั ทีช่ ่วยกระตุ้น
เศรษฐกิจของ สปป.ลาว คอื การท�ำเหมอื งแร่และพลังงานไฟฟา้ ซึง่ ปจั จุบันก�ำลังมกี ารก่อสรา้ งเขอ่ื นเพ่ือผลติ
ไฟฟา้ ทรพั ยากรสำ� คญั ของ สปป.ลาว ไดแ้ ก่ ไม้ ดบี กุ ยบิ ซม่ั ตะกวั่ หนิ เกลอื เหลก็ ถา่ นหนิ ลกิ ไนต์ สงั กะสี ทองคำ�
อัญมณี หนิ อ่อน น้�ำมัน กลา่ วได้ว่าเศรษฐกจิ สปป.ลาวขับเคล่ือนโดยอาศัยรายได้จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI)