Page 142 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 142

5-16  	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

ตารางที่ 5.1 การเปรียบเทียบลักษณะครวั เรือนเกษตรของลาวระหวา่ งปีการผลิต 2541/42 และ 2553/54

ลักษณะครัวเรือนเกษตรของลาว                                                ปีการผลติ 2541/42 ปีการผลิต 2553/54

ขอ้ มูลลกั ษณะครวั เรือน

. จำ�นวนครวั เรอื นทง้ั ประเทศ                                            798,000    1,021,000

. จำ�นวนครัวเรอื นเกษตร                                                   668,000    738,000

. สดั สว่ นครวั เรือนเกษตรตอ่ ครัวเรอื นท้ังหมด(รอ้ ยละ) 84                          77

. ประชากรเกษตร                                                            4,058,000  n.a

. จำ�นวนเฉลีย่ ประชากรเกษตรตอ่ ครัวเรอื นเกษตร 6.1                                   n.a

พ้ืนทถ่ี อื ครองทางการเกษตร

. พ้นื ทีเ่ พ่ือการเกษตร(เฮกตาร)์                                         976,000    n.a

. พน้ื ท่เี พอ่ื การเกษตรตอ่ ครวั เรอื นเกษตร(เฮกตาร์) 1.6                           n.a

  . สดั สว่ นครัวเรือนเกษตรจำ�แนกตามขนาดพน้ื ท่ีถือครอง
(ร้อยละ)

-	 น้อยกวา่ 1 เฮกตาร์                                                     36 n.a

-	 ระหวา่ ง1-2 เฮกตาร์                                                    36 n.a

-	 ตง้ั แต่ 2 เฮกตารข์ ้ึนไป                                              27 n.a

ลกั ษณะการถอื ครอง

. เป็นเจ้าของ                                                             97 n.a

. อ่ืนๆ 3 n.a
ที่มา: ASIA AND PACIFIC COMMISSION ON AGRICULTURAL STATISTICS : LAO PDR- AGRICULTURE
CENSUS(2012)

เศรษฐกิจชุมชนของลาว
	 สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวมลี กั ษณะของความเปน็ ชนบทมากกวา่ ประเทศอน่ื ๆ ในเอเชยี
ตะวันออกเฉียงใต้ ประชากรราว 3 ใน 4 ของประชากรท้ังประเทศอาศยั อยูใ่ นชนบท พ่งึ พาอาชพี เกษตรกรรม
และทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ินในการด�ำรงชีวิต ความยากจนกระจุกตัวอยู่ในชนบทโดยทั่วไป ในขณะท่ี
การเกษตรกรรมยงั เปน็ อาชพี หลกั และเปน็ ฐานของเศรษฐกจิ ในชนบทแตก่ ย็ งั เปน็ เกษตรกรรมในระดบั ประทงั ชพี
เงอ่ื นไขตา่ งๆ ทจ่ี ะส่งเสรมิ ใหเ้ กิดผลติ ภาพทส่ี ูงขึน้ มคี วามจ�ำกดั โดยท่วั ไป ปญั หาความยากจนและความยากจน
ในระดับมากพบเห็นได้ทัว่ ไปในพน้ื ที่แถบภูเขาที่เป็นแหลง่ ท่อี ยอู่ าศยั ของชนกลุ่มนอ้ ยตา่ งๆ ซง่ึ พบว่าในพื้นท่ีสูง
มีอัตราความยากจนสูงถึงประมาณร้อยละ 43 ในขณะท่ีประชากรท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีลุ่มมีอัตราความยากจน
อยู่ท่รี ้อยละ 28 ประชากรกลุ่มน้ีก็คอื ประชากรกลมุ่ ท่ีเคลือ่ นยา้ ยมาตั้งถิ่นฐานใหมจ่ ากเขตภเู ขาสูง
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147