Page 138 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 138

5-12  	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

รอ้ ยละ 80 ของพนื้ ทเี่ พาะปลกู รวมในชว่ งปเี พาะปลูก ค.ศ. 1980-1990 โดยเป็นการท�ำนาในที่ลมุ่ 422,000
เฮกตาร์ และทำ� นาในท่สี งู 223,000 เฮกตาร์ ช่วงกอ่ นหนา้ นัน้ ในปี ค.ศ. 1975-1977 รัฐบาลลาวไดพ้ ยายาม
สง่ เสรมิ ใหข้ ยายพนื้ ทเ่ี พอื่ ทำ� การเกษตรแตก่ ส็ ามารถขยายพน้ื ทท่ี ำ� การเกษตรเพมิ่ ขนึ้ เพยี งเลก็ นอ้ ย เพยี งรอ้ ยละ
6 เท่านั้น ที่ดินเพื่อการท�ำการเกษตรส่วนใหญ่อยู่นอกเขตชลประทานและเกษตรกรชาวลาวถือครองที่ดิน
เพ่อื ทำ� การเกษตรผืนเล็กๆประมาณ 1.5 ไร่ต่อครัวเรือนเทา่ นั้น(Laos Table of Contents, 2014)
	 ในช่วงต้นของทศวรรษ 1990 ภาคเกษตรกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจหลักของระบบเศรษฐกิจของลาว
แมว้ า่ เมอ่ื พจิ ารณาจากสว่ นประกอบโครงสรา้ งรายไดจ้ ากผลติ ภณั ฑม์ วลรวมประชาชาติ (GDP) จะลดลงเลก็ นอ้ ย
เมื่อเทียบกับช่วงก่อนหน้าน้ีก็ตาม ท้ังนี้พบว่า ส่วนประกอบของรายได้จากภาคเกษตรกรรมลดลงจากร้อยละ
65 ของ GDP ในปี 1980 เหลือร้อยละ 61 ในปี 1989 แต่อย่างไรก็ตามหากพิจารณาทางด้านแรงงาน
ในภาคเกษตรกรรมพบว่าแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศถึงร้อยละ 80 ยังคงท�ำงานในภาคเกษตรกรรมตลอด
ช่วงทศวรรษ 1970-1980 (U.S. Library of Congress, 2014) ซ่งึ แสดงให้เห็นโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ
ของลาวที่ตอ้ งพ่ึงพาเศรษฐกจิ จากภาคเกษตรกรรมเป็นหลักโดยตลอด
	 ในช่วงต้นของทศวรรษ 1990 พบว่าสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นหนึ่งในสิบ
ของประเทศทย่ี ากจนทส่ี ดุ ในโลกจากการจดั อนั ดบั ของธนาคารโลกโดยมรี ายไดป้ ระชาชาตติ อ่ หวั (a per capita
GNP) เพยี ง 200 เหรียญสหรัฐตอ่ ปี แรงงานขาดการศึกษาและฝึกอบรม โครงสร้างพืน้ ฐานถกู ทำ� ลายเสยี หาย
และขาดการบ�ำรุงดูและเป็นเวลานานจากผลพวงของสงครามและการสู้รบ ความสามารถในการเพาะปลูก
ทางการเกษตรขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ รายจ่ายเพ่ือการพัฒนาต่างๆ จ�ำเป็นต้องพึ่งพาความช่วยเหลือ
จากตา่ งประเทศเกอื บทัง้ หมด ดลุ การคา้ ขาดดลุ โดยข้อมูลช้วี า่ ในปี 1991 มูลค่าการส่งออกคดิ เปน็ เพียงรอ้ ยละ
40 ของมลู คา่ การน�ำเขา้ เท่าน้นั แตอ่ ย่างไรกต็ ามลาวก็ยงั คงเดินหน้าท่จี ะมุง่ สู่เศรษฐกจิ แบบตลาดต่อไป แมจ้ ะมี
อปุ สรรคตา่ งๆ ที่ไม่เอ้ือตอ่ การพัฒนาเศรษฐกิจอยเู่ ปน็ อันมาก
	 ในปี ค.ศ. 1979 รฐั บาลลาวไดเ้ รม่ิ ยกระดบั การเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ จากเดมิ ทเี่ ปน็ เปา้ หมายในแนวทาง
สังคมนิยมมุ่งสู่ความเป็นเสรีมากข้ึนโดยกิจการของรัฐจ�ำนวนมากได้ถูกแปรรูปเป็นของเอกชน ใช้การเก็บภาษี
มากข้ึนเพื่อช่วยยกฐานะทางการคลังของรัฐบาล มีการออกกฎหมายเพื่อการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน
ราคาสินค้าและบริการต่างๆ หลายชนิดได้รับการปล่อยเสรีจากเดิมท่ีการต้ังราคาจะถูกควบคุมโดยรัฐบาล
มีการพัฒนายกระดับคุณภาพการขนส่งภายในประเทศ รวมถึงการยกเลิกระบบการท�ำฟาร์มแบบสหกรณ์
ของชมุ ชนด้วย
นโยบายการปฏิรปู เศรษฐกจิ ของลาว
	 แนวคดิ การปฏริ ปู เศรษฐกจิ ของลาว เปน็ ผลจากกระแสของการปรบั เปลยี่ นแนวคดิ การพฒั นาเศรษฐกจิ
ในโลกคอมมิวนิสต์โดยเริ่มต้นต้ังแต่ ค.ศ. 1977 ท่ีเต้ิงเสี่ยวผิง ผู้น�ำจีนในยุคน้ันไดป้ ระกาศใช้แนวทางทุนนิยม
ในการปฏริ ูปเศรษฐกิจของจนี ต่อมาในปี ค.ศ. 1985 มคิ าอลิ กอรบ์ อชอฟได้ประกาศใช้นโยบายเปเรสทรอยกา
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143