Page 140 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 140
5-14 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แมล้ าวจะสามารถปรับปรุงดลุ การชำ� ระเงนิ ให้เกนิ ดลุ ไดใ้ นปี ค.ศ. 1985 และ 1986 แตด่ ุลบญั ชเี ดนิ สะพดั กลับ
ขาดดลุ มากย่งิ ขึ้น โดยการสง่ ออกมมี ูลค่าตำ่� กว่ารอ้ ยละ 20 ของมูลค่าการน�ำเข้า นอกจากนัน้ รฐั บาลลาวยงั มอง
หาแนวทางใหมๆ่ ในการปอ้ งกนั ผลกระทบทางส่งิ แวดล้อมและจ�ำกดั การท�ำไร่เลอื่ นลอยเพ่อื ป้องกันทรพั ยากร
ป่าไม้ ส่งเสริมการปลูกพืชล้มลุก แต่อย่างไรก็พบกับอุปสรรคในการพัฒนาภาคเกษตรท่ีติดอยู่กับวัฒนธรรม
ด้ังเดิมร่วมท้ังผลประโยชน์จากท่ีเกิดข้ึนในอุตสาหกรรมป่าไม้ที่มีอยู่เดิม นอกจากน้ันในช่วงปลายแผนพัฒนา
ฉบบั ท่ี 2 ยงั เกดิ ปญั หาภยั แลง้ ขนานใหญ่ ในทสี่ ดุ แลว้ กส็ ง่ ผลทำ� ใหไ้ มส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายในการพง่ึ พาตนเอง
ทางด้านอาหารตามทต่ี ัง้ ไว้
แม้จะกลา่ วไดว้ า่ เกดิ ความล้มเหลวทางเศรษฐกิจในการพฒั นาตามแผนพัฒนาฉบบั ที่ 1 และ 2 (ค.ศ.
1981-1990) รัฐบาลลาวก็ยังคงยึดมั่นในการเดินหน้าสู่ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดต่อไปโดยในแผนพัฒนา
ฉบับที่ 3 (The Third Fire-Year Plan) ในช่วง ค.ศ. 1991-1995 ยังคงเดินหน้าแนวทางการพัฒนา
ทต่ี อ่ เนอ่ื งจากแผนพฒั นาทผี่ า่ นมาทงั้ สองฉบบั โดยเนน้ การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานของประเทศ สง่ เสรมิ การสง่ ออก
และอุตสาหกรรมทดแทนการน�ำเข้า ในเดอื นสิงหาคม ค.ศ. 1991 ไดม้ กี ารประชมุ สมชั ชาประชาชนสูงสุดแหง่
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งในการประชุมนี้ได้อนุมัติการใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นับตั้งแต่
ฉบบั กอ่ นทถี่ กู ยกเลกิ การใชใ้ นปี 1975 โดยเนอ้ื หาในรฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหมน่ ไ้ี ดป้ ระกาศยนื ยนั การรบั รองกรรมสทิ ธิ์
ในทรพั ยส์ นิ ของเอกชน คำ� ขวญั แหง่ ชาตเิ ดมิ ทเี่ ชดิ ชแู นวทางสงั คมนยิ มไดห้ นั มาชคู ำ� ขวญั ใหมท่ วี่ า่ “ประชาธปิ ไตย
และความรุ่งเรือง” (democracy and prosperity) แทน ต่อมาในปี ค.ศ. 1994 ลาวได้ปรับปรุงกฎหมาย
คุ้มครองการลงทุนจากต่างประเทศท่ีใช้อยู่เดิมเป็นกฎหมายส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนจากต่างประเทศ
ท่ีก�ำหนดแนวทาง วิธีการส่งเสริมการลงทุนและการให้ความคุ้มครองการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อสร้าง
ความเช่ือม่ันของนกั ลงทุนต่างประเทศมากข้ึน
แผนพฒั นาฉบับท่ี 4 และ 5 (ค.ศ. 1996-2000 และ ค.ศ. 2001-2005) ยงั คงด�ำเนินตามแนวทางเดิม
โดยยงั คงสนบั สนนุ ระบบเศรษฐกจิ แบบตลาดแตก่ ย็ งั เนน้ การสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ แบบยงั ชพี ทเ่ี นน้ ใหป้ ระชาชนพง่ึ
ตนเอง ประกอบกับในช่วงของแผนพัฒนาฉบับที่ 4 ลาวได้บทเรียนจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศไทย
ในปี ค.ศ. 1997 อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะการผลิตและการบริโภคเกินตัวได้เป็นบทเรียนให้ลาวด�ำเนิน
นโยบายเศรษฐกจิ อยา่ งระมดั ระวงั มากขน้ึ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามนโยบายเศรษฐกจิ ของลาวกข็ น้ึ อยกู่ บั อดุ มการณแ์ ละ
เจตนารมณท์ างการเมอื งของกลมุ่ ผนู้ ำ� เปน็ หลกั โดยภาพของการดำ� เนนิ นโยบายในระดบั มหภาคยงั เกดิ ความย้อน
แยง้ กบั สภาพเศรษฐกจิ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ ทย่ี งั คงผกู ตดิ อยกู่ บั กลไกอำ� นาจทางการเมอื งเปน็ หลกั นอกจากนนั้ สำ� หรบั
การลงทุนในสาขาที่เปิดรับการลงทุนจากภายนอก รัฐบาลลาวไม่ได้เปิดเป็นกลไกการลงทุนเสรีอย่างแท้จริง
แตห่ ากมลี กั ษณะการจดั สรรการลงทนุ เปน็ รายประเทศเพอ่ื ใหเ้ กดิ การกระจายความเสยี่ งและปอ้ งกนั การครอบงำ�
ทางธุรกิจ
ต่อมาในแผนพัฒนาฉบับท่ี 6 (ค.ศ. 2006-2010) รัฐบาลลาวได้กำ� หนด 5 ยทุ ธศาสตรห์ ลกั คอื 1)
การสรา้ งความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทข่ี บั เคลอ่ื นโดยภาคเอกชน 2) สง่ เสรมิ การแขง่ ขนั และการคา้ ทเี่ พมิ่ ขน้ึ
ในภูมิภาคอาเซียน 3) การมุ่งพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4) การลดปัญหาความยากจน และ 5) การยึดหลัก
ธรรมาภบิ าล (Stuart_fox, 2009 : 155) สว่ นในหว้ งเวลาปจั จบุ นั นป้ี ระเทศลาวกำ� ลงั ดำ� เนนิ การพฒั นาเศรษฐกจิ