Page 139 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 139
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 5-13
(Perestroika) ในการฟื้นฟูเศรษฐกจิ ของสหภาพโซเวียตและต่อมาในปี ค.ศ. 1986 ผนู้ �ำเวยี ดนามไดป้ ระกาศใช้
นโยบายโด๋ยเมีย (Doi Moi) แนวคดิ และแนวทางหลกั ของประเทศตน้ แบบของโลกคอมมิวนิสตร์ วมถงึ อทิ ธิพล
ทางการทหารและการเมอื งทมี่ ตี อ่ ลาวสง่ ผลตอ่ แนวคดิ และแนวทางในการปฏริ ปู เศรษฐกจิ ของลาวในลำ� ดบั ตอ่ มา
ในช่วงก่อนท่ีจะมีแนวคิดในการปฏิรูปเศรษฐกิจตามแนวทางทุนนิยมอย่างจริงจัง ลาวได้เริ่มด�ำเนิน
แนวทางเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจแบบเปิดต้ังแต่ปลายทศวรรษ 1970 ตามทัศนะต่อการพัฒนาประเทศ
ของผู้น�ำประเทศในโลกคอมมิวนิสต์ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับในช่วงเวลาต่อมารัฐบาลลาวประสบ
ความล้มเหลวในการบริหารจัดการเศรษฐกิจภายในตามแนวทางคอมมิวนิสต์ ในขณะที่ภาคเศรษฐกิจหลักคือ
ภาคเกษตรกรรมยงั ตอ้ งพง่ึ พาธรรมชาตเิ ปน็ หลกั สง่ ผลใหก้ ารผลติ อาหารมปี รมิ าณไมเ่ พยี งพอ เกดิ ภาวะอดอยาก
ขาดความม่ันคงด้านอาหาร สาเหตุส�ำคัญมาจากผลิตภาพในการผลิตต�่ำและยังประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติ
อยู่เนืองๆ จนในแผนพัฒนาฉบบั ท่ี 1 (ค.ศ. 1981-1985) รัฐบาลลาวได้ก�ำหนดเปน็ นโยบายหลกั ในการส่งเสรมิ
การผลิตอาหารให้เพียงพอต่อการบริโภคภายใน (self – sufficiency in food production) โดยไดก้ ำ� หนด
เป้าหมายของผลผลิตเท่ากับ 350 กิโลกรัมของผลผลิตข้าวเปลือกและพืชอาหารอื่นต่อหัวของประชากรต่อปี
นอกจากน้ันในแผนพัฒนาฉบับท่ี 1 ยังมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรม เพ่ิมการค้ากับประเทศไทย ปรับปรุงโครงสร้าง
การขนสง่ ในชนบท การเพม่ิ รายรบั จากการสง่ ออกโดยเปา้ หมายทงั้ หมดนน้ั กส็ อดรบั กบั แนวทางในการมงุ่ สรู่ ะบบ
เศรษฐกจิ แบบตลาดโดยตอ่ เน่อื ง
อยา่ งไรกต็ ามการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ในชว่ งของการใชแ้ ผนพฒั นาฉบบั ที่ 1 ยงั ตำ่� กวา่ การคาดการณ์
และต่�ำกว่าการเจริญเติบโตก่อนหน้า รัฐบาลลาวได้ตัดสินใจท่ีจะด�ำเนินการปฏิรูปเศรษฐกิจต่อไปด้วยก้าวย่าง
ที่หนักแน่นมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจตลาดต่อไป โดยในการประชุมใหญ่พรรคปฏิวัติประชาชนลาวใน
ปี ค.ศ. 1986 ไดม้ กี ารอนมุ ัตแิ ผนพฒั นาฉบับท่ี 2 (ค.ศ. 1986-1990) ซ่งึ ในแผนพัฒนาฉบบั น้ไี ดเ้ สนอกลยทุ ธ์ใหม่
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของลาวท่ีเรียกว่า “กลไกเศรษฐกิจใหม่” (The new Economic Mechanism)
ท่ีวางแนวทางให้ระบบเศรษฐกิจของลาวเปิดสู่ตลาดโลกอย่างค่อยเป็นค่อยไปในขณะที่ยังคงเป้าหมายแห่งชาติ
ท่ีส�ำคัญคือเรื่องการพึ่งตนเองด้านอาหารได้ต่อไป แผนพัฒนาฉบับนี้ได้ประเมินข้อจ�ำกัดของการพัฒนา
วางแนวทางและกลไกการพฒั นารวมทง้ั สรา้ งการรบั รใู้ หมใ่ นหมผู่ นู้ �ำการพฒั นาและประชาชนชาวลาวโดยทว่ั ไป
โดยมีการประเมินว่าลาวมีความขัดแย้งท่ีส�ำคัญคือ ความขัดแย้งด้านก�ำลังการผลิตท่ีล้าสมัยกับความต้องการ
ที่เพ่ิมมากขึ้นเร่ือยๆ ในสังคม การแก้ไขจ�ำต้องเพ่ิมศักยภาพการผลิตของระบบเศรษฐกิจที่เดิมด�ำเนินอย่าง
ค่อยเป็นค่อยไปตามธรรมชาติเป็นระบบเศรษฐกิจที่มุ่งตอบสนองความต้องการ ปรับปรุงคุณภาพชีวิต
ของประชาชนลาวใหม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี น้ึ จงึ ถอื ไดว้ า่ แนวคดิ กลไกเศรษฐกจิ ใหมท่ เ่ี กดิ ขนึ้ ในชว่ งของแผนพฒั นา
ฉบบั ที่ 2 เปน็ การปรบั เปลยี่ นแนวคดิ ปฏริ ปู เศรษฐกิจครงั้ ใหญ่ของลาว นอกจากน้นั ในแผนพฒั นาฉบบั ที่ 2 นีย้ งั
แสวงหาการลงทุนจากต่างประเทศโดยการปรับเปลี่ยนกฎกติกาทางการค้าต่างๆ และการส่งเสริมโอกาส
การลงทุนจากต่างประเทศให้กว้างขวางขึ้น โดยพยายามลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจจากประเทศเวียดนามแล้ว
เร่ิมแสวงหาการลงทุนจากภาคเอกชน การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการค้าต่างๆ จากประเทศไทยและประเทศ
สังคมนิยมอื่นๆ มากย่ิงขึ้นทั้งน้ีเพ่ือมุ่งหวังที่จะปรับปรุงดุลการค้าและดุลการช�ำระเงินให้ดีขึ้นแต่อย่างไรก็ตาม