Page 141 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 141

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559       5-15

และสงั คมตามแผนพฒั นาฉบบั ท่ี 7 (ค.ศ. 2011-2015) ทมี่ งุ่ เนน้ การแกป้ ญั หาความยากจน และยกระดบั คณุ ภาพ
ชีวิตประชาชนลาวสนองตามเป้าหมายการพัฒนาแหง่ สหัสวรรษของสหประชาชาตแิ ละมงุ่ หมายใหล้ าวหลุดพ้น
จากสถานะประเทศดอ้ ยพัฒนาในปี ค.ศ. 2020
	 ภายหลังจากลาวได้เปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศเม่ือพิจารณาจากมูลค่าการลงทุนสะสม
จากต่างประเทศพบว่าในครึง่ ปแี รกของ ค.ศ. 2011 การลงทุนสะสมจากประเทศจนี มีมลู ค่าสงู สุดคดิ เปน็ มลู คา่
กวา่ 4,000 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั รองลงมาไดแ้ ก่ การลงจากประเทศเวียดนามและไทย คิดเป็นมูลค่า 2,770 และ
2,680 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามล�ำดับ สาขาการผลิตท่ีลาวมุ่งพัฒนามากท่ีสุดคือ การสร้างเขื่อนเพื่อการผลิต
กระแสไฟฟ้า รองลงมาได้แก่การให้สัมปทานการท�ำเหมืองแร่ซึ่งได้แก่แร่ทองแดง ทองค�ำและอลูมิเนียม ส่วน
การสง่ ออกกม็ กี ารสง่ ออกสนิ คา้ ไมอ้ ยา่ งถกู กฎหมายรวมทง้ั สง่ ออกสนิ คา้ เกษตรทสี่ ำ� คญั บางชนดิ เชน่ กาแฟ และ
ขา้ วโพด นอกจากนธ้ี รุ กจิ บรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทยี่ วกเ็ ปน็ ธรุ กจิ ทมี่ กี ารเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ดงั นน้ั ในชว่ งแผนพฒั นา
ฉบับปัจจุบันคือแผนพัฒนาฉบับที่ 7 รัฐบาลลาวได้มุ่งพัฒนาด้านการคมนาคมขนส่งทั้งทางบก ทางรถไฟและ
ทางอากาศเพอื่ รองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มายงั ลาวมากขน้ึ รวมทงั้ เพอื่ อ�ำนวยความสะดวกและลดตน้ ทนุ
การขนสง่ สนิ คา้ ภายในประเทศสอดคลอ้ งกบั การวางเปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ นการใหล้ าวเปน็ ศนู ยก์ ลางเชอื่ มตอ่
(Land Linked) ระหวา่ งจนี กบั กลุ่มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นท่จี ะทวคี วามสำ� คัญในเชิงการค้า การลงทุนและ
การท่องเที่ยว มากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ แต่อย่างไรก็ตามปัญหาหลักส�ำคัญท่ีลาวก�ำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน
กย็ งั คงเป็นเรอ่ื งความยากจนของคนในชนบท
	 แม้ในภาพรวมรัฐบาลลาวจะประสบผลส�ำเร็จในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนับตั้งแต่
ดำ� เนนิ นโยบายปฏริ ปู เศรษฐกจิ ตามแนวทางเศรษฐกจิ แบบตลาดในชว่ งกลางทศวรรษ 1980 ยงั ผลใหม้ กี ารลดลง
ของปัญหาความยากจนโดยต่อเนื่อง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปตามเป้าหมายในขณะที่สัดส่วน
คนยากจนลดลงจากรอ้ ยละ 39 ของประชากรในช่วงกลางทศวรรษ 1990 เหลอื เป็นร้อยละ 27.6 ในปี ค.ศ.
2010 ซง่ึ ตามรายงานดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ อง UNDP ในปี ค.ศ. 2010 ชว้ี า่ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย
ประชาชนลาวเป็นหน่งึ ใน 10 ของประเทศที่มกี ารเคลือ่ นไหวทีก่ ้าวหนา้ ด้านการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยใ์ นชว่ ง
20 ปีทผ่ี า่ นมา (ชว่ ง ค.ศ. 1990-2010) แต่อยา่ งไรก็ตาม ประเทศลาวก็ยงั คงเปน็ หนึง่ ในประเทศท่ียากจนและ
มีระดับการพัฒนาที่น้อยท่ีสุดในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าเครื่องชี้วัดทางสังคมหลายตัว
จะบ่งบอกถึงการปรับตัวดีขึ้น แต่เมือเปรียบเทียบในภาพรวมกับประเทศอื่นในภูมิภาคน้ีลาวก็ยังคงถูกจัด
เปน็ ประเทศทม่ี รี ายไดต้ ำ่� สดุ แมล้ าวจะมคี วามอดุ มสมบรู ณใ์ นดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตมิ สี ดั สว่ นครวั เรอื นเกษตร
ตอ่ ครัวเรอื นท้งั หมดรอ้ ยละ 84 ในปกี ารผลติ 2541/42 และลดลงเหลอื รอ้ ยละ 77 ในปกี ารผลติ 2554/55 และ
ประชากรกวา่ 4 ลา้ นคนอยใู่ นภาคเกษตร สดั สว่ นประชากรต่อครัวเรอื นเกษตรเฉลย่ี 6.1คน และดว้ ยลักษณะ
ทางภูมิศาสตร์ของพ้ืนที่เป็นภูเขาและที่ราบสูงจึงมีส่วนท�ำให้พื้นที่ถือครองทางการเกษตรต่อครัวเรือนเฉล่ีย
เหลอื ประมาณ 1.6 เฮกตาร์ หรอื ประมาณ 10 ไร่ ครวั เรอื นทม่ี ที ด่ี นิ ทำ� เกษตรตำ�่ กวา่ 1 เฮกตารม์ รี อ้ ยละ 36 ครวั เรอื น
ที่มที ่ดี นิ เกษตรระหวา่ ง 1-2 เฮกตาร์ มีรอ้ ยละ 36 และสูงกวา่ 2 เฮกตาร์ มรี อ้ ยละ 27 แต่หากพจิ ารณาลกั ษณะ
การถอื ครองจะพบวา่ สดั สว่ นความเปน็ เจา้ ของสงู ถงึ รอ้ ยละ97 แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามการทำ� สมั มะโนการเกษตรครง้ั น้ี
ไมป่ รากฏขอ้ มลู สำ� หรบั ปีการผลติ 2553/5 หลายรายการ(ดูตารางที่ 5.1)
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146