Page 143 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 143
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 5-17
ในภาพรวมโดยท่ัวไปครัวเรือนที่ยากจนจ�ำนวนมากต้ังบ้านเรือนอยู่ในพ้ืนท่ีมักประสบกับภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติไม่มีสัตว์เลี้ยง มีอัตราการเป็นภาระเล้ียงดูสูงและมีผู้น�ำครัวเรือนเป็นผู้หญิง ทั้งน้ีพบว่าในชนบท
ผู้หญิงโดยทั่วไปจะท�ำงานหนักกว่าผู้ชาย โดยเม่ือวัดจากเวลางานทั้งหมดในการเกษตร ทั้งงานบ้านและ
การเลี้ยงดูบุตรซ่งึ พบว่าสดั ส่วนของการใชแ้ รงงานหญิงตอ่ ชายจะอยู่ท่ี 70 : 30 มผี ลท�ำให้ผู้หญงิ ลาวโดยทัว่ ไป
มีโอกาสได้รับการศึกษาน้อย อัตราการรู้หนังสือของผู้หญิงอยู่ที่ประมาณร้อยละ 54 เปรียบเทียบกับอัตรา
รหู้ นงั สอื ของผชู้ ายลาวอยทู่ ร่ี อ้ ยละ 77 ยงิ่ กวา่ นนั้ ผหู้ ญงิ และเดก็ หญงิ ทเ่ี ปน็ ชนเผา่ กลมุ่ ใหญท่ อ่ี าศยั อยใู่ นพนื้ ที่สงู
ถึงประมาณร้อยละ 70 ไมร่ หู้ นงั สอื การสือ่ สารใช้ภาษาถ่นิ และมเี พียงเลก็ นอ้ ยท่ีสามารถพูดภาษาทางราชการได้
ประชาชนในชนบททยี่ ากจนของลาวอาศยั การทำ� การเกษตรเพอ่ื การผลติ อาหารและเปน็ แหลง่ รายได้
ของครัวเรือนแต่เงื่อนไขต่างๆ มีข้อจ�ำกัดในการส่งเสริมการผลิตและสร้างผลิตภาพเพ่ิมข้ึน ครัวเรือนเกษตรกร
ลาวจงึ ประสบปญั หาในการผลติ อาหารใหเ้ พยี งพอตอ่ การบรโิ ภคโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ครวั เรอื นขนาดใหญท่ ม่ี สี มาชกิ
จำ� นวนมาก ครวั เรอื นเกษตรสว่ นใหญย่ งั ยดึ แนวทางการผลติ แบบดง้ั เดมิ ขาดความรู้ เทคโนโลยแี ละทกั ษะใหม่ ๆ
ในการเพมิ่ ผลผลติ ตอ่ ไรใ่ หส้ งู ขนึ้ ปจั จยั การผลติ มจี ำ� กดั และการถอื ครองทด่ี นิ เพอ่ื การผลติ ทางการเกษตรมขี นาด
เล็ก ข้อมูลจากการสัมมะโนการเกษตรของลาวในปี ค.ศ. 1998/99 พบว่าครัวเรือนเกษตรมีพื้นท่ีถือครอง
เฉล่ีย 1.6 เฮกตาร์ (หรือประมาณ 10 ไร่) และมีสมาชิกครัวเรือนเกษตรเฉลี่ย 6.1 คน (Asia and Pacific
Commission on Agricultural Statistics, 2012 : 8) การลดลงในดา้ นความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ อนั เปน็ ผลจาก
ใช้เพาะปลูกเป็นเวลานานโดยขาดการท�ำนุบ�ำรุงดิน ส่งผลต่อผลผลิตภาพทางการเกษตร มีครัวเรือนเกษตร
เพยี งเลก็ นอ้ ยทเี่ ขา้ ถงึ ระบบชลประทาน การเกดิ โรคระบาดทไ่ี มส่ ามารถควบคมุ ไดใ้ นสตั วส์ ง่ ผลใหเ้ กดิ การสญู เสยี
สัตว์เลีย้ งอยู่เสมอ
ผลสบื เนอื่ งจากผลผลติ ตอ่ ไรล่ ดลงจากเหตผุ ลดา้ นความสมบรู ณข์ องธรรมชาตลิ ดลง กดดนั ใหค้ รวั เรอื น
เกษตรในหลายพื้นท่ีของลาวขยายพื้นที่ท�ำการเกษตรเข้าไปในพื้นที่ป่าธรรมชาติเพื่อการผลิตอาหารและ
สร้างรายได้ ส่งผลให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและในที่สุดก็กลับมาที่เดิมให้เกิดปัญหาความยากจนมาก
ยิ่งขึ้นอีก นอกจากนั้นรัฐบาลลาวยังมีแผนงานท่ีจะเลิกการปลูกฝิ่นในพ้ืนที่สูงแต่ก็พบว่าแม้กิจกรรมนี้สามารถ
ดำ� เนนิ การไดต้ ามเปา้ ประสงคแ์ ตร่ ฐั บาลลาวกย็ งั ขาดความตอ่ เนอ่ื งในการสนบั สนนุ การลงทนุ เพอื่ ปลกู พชื ทดแทน
ชนดิ อนื่ ที่สามารถสร้างรายได้ได้อยา่ งเพยี งพอ
ปัญหาความยากจนและท�ำเลท่ีตั้งท่ีห่างไกลของชุมชนชนบทยังส่งผลให้ชุมชนจ�ำนวนมากอยู่อย่าง
โดดเดี่ยวอิสระโดยเฉพาะในระหว่างช่วงฤดูฝนมีการประมาณว่าคร่ึงหน่ึงของชุมชนหมู่บ้านลาวในชนบท
ไม่สามารถเข้าถึงได้ การแยกเป็นอิสระในทางสังคมเป็นปัญหาส�ำคัญอันหนึ่งของกลุ่มชนเผ่าที่อาศัยในท่ีสูง
เนื่องจากความแตกต่างทางด้านภาษา จารีตประเพณีและความเช่ือทางศาสนา นอกจากน้ันชุมชนในชนบท
ยงั มขี อ้ จำ� กดั ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารของรฐั แหลง่ ทนุ ขาดแคลนโครงสรา้ งพน้ื ฐานทง้ั ทางเศรษฐกจิ และสงั คม สมาชกิ
ในชุมชนชนบทส่วนใหญ่ได้ถูกกันออกจากผลประโยชน์ที่จะได้จากระบบเศรษฐกิจแบบตลาด นอกจากน้ัน
การขาดแคลนด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการส่ือสารที่มีคุณภาพท�ำให้ขาดโอกาสในการพัฒนาตนเองและ
การเข้าถึงขอ้ มลู ข่าวสารตา่ งๆ