Page 26 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 26

1-16 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย
เนอ่ื งจากประชากรสว่ นใหญน่ บั ถอื พทุ ธศาสนา ปจั จบุ นั สงั คมทว่ั ไปยอมรบั วา่ ครสิ ตศ์ กั ราช เปน็ ศกั ราชกลาง
(Common Era) ทใี่ ชก้ นั ทว่ั โลก ทงั้ นเ้ี ปน็ ผลจากการยอมรบั อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมและความกา้ วหนา้ ทาง
เทคโนโลยีของชาวตะวันตก การนับและการรู้วิธีเทียบศักราชแบบต่างๆ จึงจ�ำเป็นเพ่ือประโยชน์ใน
การติดตอ่ ส่อื สารระหว่างผทู้ ่ีใชศ้ ักราชตา่ งกนั

            3.1 การนับและเทียบศักราชแบบไทย ศักราชที่ใชใ้ นประวัติศาสตรไ์ ทย มอี ยู่หลายประเภท
ดังนี้

                          ตารางที่ 1.1 การนับและเทียบศักราชแบบไทย

พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นศาสนศักราชที่ประเทศซ่ึง                   มหาศกั ราช (ม.ศ.) เปน็ ศกั ราชเกา่ แก่ ทพี่ ระเจา้ กนษิ กะ
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนาใช้เป็นเกณฑ์                      แห่งอินเดียเปน็ ผตู้ งั้ เมือ่ พ.ศ. 621 บางคนจึงเรียกว่า
การนับเวลา โดยก�ำหนดจากปีท่ีพระพุทธเจ้า                         กนษิ กศกั ราช
ปรินิพพาน แต่บางประเทศมีการนับต่างกัน เช่น                      	 มหาศกั ราชเร่ิมแพรห่ ลายในอนิ เดีย ต่อมาจงึ
ประเทศศรีลังกา พม่า และกัมพูชา เริ่มนับพุทธ-                    แพร่กระจายเข้ามายังประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวัน
ศักราชท่ี 1 ตั้งแต่ปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน แต่                ออกเฉียงใต้ มีอาณาจักรท่ีใช้มหาศักราช เช่น
ประเทศไทยเร่ิมนับจากปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน                   อาณาจกั รตา่ งๆ ในเกาะชวา (ในประเทศอนิ โดนเี ซยี
ผา่ นไปแล้วครบหนึ่งปี เป็น พ.ศ.1                                ปจั จบุ นั ) พมา่ กมั พชู า และไทย ท้ังนี้จะเหน็ ได้จาก
	 การใช้พุทธศักราชปรากฏในเอกสารราชการ                           จารึกท่ีพบในดินแดนไทยรุ่นแรกๆ และจารึกสมัย
ของไทยในรชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ตอ่ มา                  สโุ ขทยั เปน็ ตน้
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว                    รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) เปน็ ศกั ราชทตี่ ง้ั ขน้ึ ในรชั กาล
ทรงเปลี่ยนแปลงการนับเวลาทางราชการเพื่อให้                       พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยนับ
สอดคล้องกับสากลนิยม โดยประกาศให้ใช้                             ตามปที ก่ี อ่ ตงั้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เปน็ ร.ศ. 1 พรอ้ มทงั้
พทุ ธศักราชอย่างเปน็ ทางการเมือ่ พ.ศ. 2455                      ทรงโปรดใหเ้ ลกิ ใช้จุลศักราช
จุลศักราช (จ.ศ.) เปน็ ศกั ราชเกา่ แกท่ กี่ ษตั รยิ พ์ มา่ ตงั้  	 การใช้รัตนโกสินทร์ศกมักใช้ในเอกสาร
ขึ้นภายหลังพุทธศักราช 1181 เรียกว่าศักราชพุกาม                  ราชการ และเป็นศักราชในพระราชนิยม แต่ต่อมา
ต่อมาภายหลังจุลศักราชได้แพร่หลายเข้ามาใน                        พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดให้
ดินแดนไทย เน่ืองจากการถ่ายทอดวัฒนธรรมผ่าน                       เลิกการใช้รัตนโกสินทร์ศก โดยใช้พุทธศักราชแทน
ทางพุกาม ซ่ึงเคยเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนานิกาย                     ดังปรากฏในพระราชบัญญัติเร่ืองประกาศวิธีนับ วัน
เถรวาททส่ี ำ� คญั ในภาคพน้ื เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้           เดอื น ปี เมอื่ วนั ที่ 21 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2455 (ร.ศ. 131)
	 จุลศักราชจึงได้แพร่หลายอยู่ในอาณาจักร
สุโขทัย สืบเนื่องจนถึงสมัยอยุธยา ธนบุรีและ
รัตนโกสินทร์ จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ-
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้เลิกใช้
จุลศักราชเพื่อเปล่ียนไปใช้ รัตนโกสินทร์ศก พร้อม
กบั การใช้วันทางสุริยคติ เพือ่ ให้สอดคล้องกบั ปฏทิ ิน
สากล
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31