Page 24 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 24

1-14 ประวตั ศิ าสตร์ไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์กับเวลา

       ความสมั พนั ธ์น้ีมีลกั ษณะตา่ งๆ ดงั น้ี
       1. 	ความสืบเน่ืองของอดีต มนุษย์ได้สังเกตเห็นความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนรอบตัว เช่น การ
เปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ อาทิ ฤดกู าล น้ําข้ึน นํ้าลง ฯลฯ หรือการเปลยี่ นแปลงเก่ยี วกบั ตวั มนษุ ย์ เชน่
การเกดิ แก่ เจบ็ ตาย ฯลฯ ทำ� ใหม้ นษุ ยม์ ปี ระสบการณเ์ รอื่ งเวลากบั การเปลยี่ นแปลงทส่ี บื เนอื่ งตอ่ ไปอยา่ งไม่
หยดุ ยง้ั มนษุ ยจ์ งึ มชี วี ติ สว่ นหนงึ่ อยใู่ นมติ ขิ องเวลา ประกอบกบั จติ สำ� นกึ ของมนษุ ยผ์ กู พนั อยกู่ บั อดตี แมว้ า่
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์จะผ่านพ้นไปแล้ว แต่เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ยังคงอยู่ในความทรงจ�ำท่ีเรียกว่า
ความทรงจ�ำในประวัติศาสตร์ (Historical Memory) เช่น ความทรงจ�ำเกยี่ วกบั เรือ่ งราวของบรรพบรุ ษุ
หรือเหตุการณ์ส�ำคัญ เช่น การเปล่ียนแปลงการปกครองในปี 2475 ด้วยเหตุที่ความทรงจ�ำของมนุษย์
เกย่ี วขอ้ งกบั เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ในอดตี ทมี่ คี วามตอ่ เนอื่ งและเปลยี่ นแปลงตามกาลเวลา ทำ� ใหน้ กั ประวตั ศิ าสตร์
สามารถอ้างอิงได้ว่า อดีตไม่ใช่สิ่งผ่านพ้นไป แต่อดีตได้สืบเน่ืองเป็นส่วนหน่ึงของปัจจุบัน เช่นเดียวกับที่
ปจั จุบันสบื เนื่องไปส่อู นาคต
       เวลานอกจากจะมีความสืบเน่ืองจากอดีตแล้ว นักประวัติศาสตร์ยังให้ความส�ำคัญต่อเวลาท่ีเกิด
เหตกุ ารณใ์ นแตล่ ะยุคสมัย เนอื่ งจากเมือ่ เวลาเปลีย่ นไป สภาพแวดลอ้ มยอ่ มเปลย่ี นไปด้วย เชน่ กรุงเทพฯ
ในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ แตกตา่ งจากกรงุ เทพฯ ในปจั จบุ นั ดงั นนั้ ถา้ จะคน้ หาความจรงิ ในอดตี นกั ประวตั ศิ าสตร์
ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ ม ณ ชว่ งเวลานนั้ เวลาจงึ เปน็ เงอ่ื นไขสำ� คญั ประการหนงึ่ ทที่ ำ� ใหท้ ราบขอ้ เทจ็ จรงิ
เกย่ี วกบั พฤติกรรมและความคดิ ของมนษุ ย์ในยุคสมยั ท่ีตา่ งกัน
       2. 	การแบ่งช่วงอดีต ปัจจุบัน อนาคต เน่ืองจากความรู้สึกเร่ืองเวลาของมนุษย์ในชีวิตจริงน้ัน
ดเู สมอื นวา่ เวลาไดเ้ คลอ่ื นไปสอู่ นาคต นกั วชิ าการจงึ สมมตุ วิ า่ เวลาเคลอ่ื นเปน็ เสน้ ตรงไปสอู่ นาคตในทศิ ทาง
เดยี ว27 ทเ่ี รยี กวา่ เสน้ เวลา (Timeline) นอกจากนถี้ า้ นบั เวลาตงั้ แตม่ นษุ ยชาติ รจู้ กั การบนั ทกึ เรอื่ งราวเปน็
ลายลักษณ์อักษร จนถึงปัจจุบันนับเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานมาก ในช่วงเวลาดังกล่าวได้มีการบันทึก
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ไว้เป็นจ�ำนวนมาก ด้วยเหตุน้ีนักประวัติศาสตร์จึงก�ำหนดช่วงเวลาในแบบต่างๆ
เช่น ก�ำหนดชว่ งเวลาแบบกว้างๆ เป็นอดตี ปจั จุบนั และอนาคต ซ่งึ อธิบายเพมิ่ เตมิ ได้ดังน2ี้ 8

	 27 นักปรัชญามีความเห็นเก่ียวกับเวลาว่า เวลาไม่ได้เคล่ือนเป็นเส้นตรงในทิศทางเดียว แต่อาจเคล่ือนเป็นวงกลม เช่น
การเวียนว่ายตายเกิดในคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา หรือในโลกแห่งจินตนาการ มนุษย์อาจจินตนาการถึงเร่ืองราวต่างๆ จาก
จุดใดไปยังจุดอื่น หรืออาจจินตนาการย้อนกลับไปยังอดีตหรืออนาคต หรือจินตนาการกลับไปกลับมา ระหว่างอดีต ปัจจุบัน และ
อนาคตนอกจากนไี้ อนส์ ไตนย์ งั พสิ จู นว์ า่ เวลาไมม่ อี ยจู่ รงิ สามารถยดื หดได้ ตามแรงโนม้ ถว่ ง และความเรว็ อา้ งใน สม สจุ รี า. (2550).
ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น. กรงุ เทพฯ: สำ�นกั พิมพ์อมั รินทร์. น. 15.

         28 แนวความคดิ นผ้ี เู้ ขยี นประยกุ ตจ์ ากคำ�อธบิ ายบางตอนเกย่ี วกบั เวลาและภาษาของ อา้ งใน อภนิ นั ท์ ตนั ตวิ ตั นะ. (2553).
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษทางเลือก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. น. 90-94.
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29