Page 21 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 21
กระบวนการเรียนรูแ้ ละการใชห้ ลักฐานทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย 1-11
3. วิธีการทางประวัติศาสตร์ การเขา้ ถงึ ความจรงิ ของเหตกุ ารณ์ เรอื่ งราวและสง่ิ สำ� คญั ตา่ งๆ ทาง
ประวตั ศิ าสตรไ์ ดน้ น้ั นอกจากตอ้ งมหี ลกั ฐานทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั แลว้ ยงั ตอ้ งมวี ธิ กี ารคน้ ควา้ ทเี่ รยี กวา่
วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ (ซึง่ จะอธบิ ายเพิ่มเติมในตอนที่ 1.3) ท้ังนเ้ี พราะประวตั ิศาสตรไ์ มใ่ ชก่ ารเลา่ เรื่อง
แตเ่ ปน็ การคน้ ควา้ เพอื่ อธบิ ายวา่ เหตกุ ารณ์ เรอื่ งราวและสงิ่ ส�ำคญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในอดตี นน้ั มสี าเหตจุ ากอะไรบา้ ง
และเหตุการณ์น้ันด�ำเนินมาอย่างไร และมีผลหรือผลกระทบต่อสังคมอย่างไร การเข้าใจเช่นนี้ท�ำได้โดยใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์เพ่ือศึกษาว่าเหตุใดจึงเกิดสิ่งน้ี หรือสิ่งนั้น สิ่งน้ีในอดีตได้เกิดและคล่ีคลายมา
อย่างไร21 ตัวอย่าง เช่น ในระยะแรกการก่อตัง้ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (อาเซียน:
ASEAN) เม่ือ พ.ศ. 2510 อาเซยี นมีสมาชกิ เพยี ง 5 ประเทศ22 แต่ปัจจบุ ันอาเซียนมสี มาชกิ เพ่ิมขน้ึ รวม
เป็น 10 ประเทศ ซ่ึงถ้าศึกษาพัฒนาการของการเข้าเป็นสมาชิกอาเซยี นของแต่ละประเทศแลว้ ผ้ศู ึกษาจะ
ทราบรายละเอียด เก่ียวกับการก่อตั้งอาเซียน เช่น ประเทศใดร่วมก่อตั้ง ก่อตั้งเมื่อไร และมีจุดมุ่งหมาย
อะไรแตถ่ า้ ใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรค์ น้ ควา้ จะทำ� ใหว้ เิ คราะหแ์ ละอธบิ ายไดว้ า่ เหตใุ ดอาเซยี นจงึ มสี มาชกิ
เพ่ิมขึน้ และมีล�ำดับการเข้ามาเปน็ สมาชกิ ตา่ งกันเพราะเหตุใด เปน็ ตน้
4. ผเู้ ขยี นประวตั ศิ าสตร์ หรอื นกั ประวตั ศิ าสตร์ หมายถงึ ผทู้ สี่ รา้ งสรรคผ์ ลงานการเขยี นเกย่ี วกบั
เหตุการณ์ เรื่องราว และสงิ่ สำ� คัญต่างๆ ในอดตี ผลงานของผู้เขยี นประวตั ิศาสตร์ มคี ุณค่าในการเชือ่ มโยง
ความรู้ และความคดิ ทต่ี ดิ ตวั มนษุ ยแ์ ละสงั คมตงั้ แตค่ รง้ั อดตี ใหต้ อ่ เนอ่ื งถงึ ปจั จบุ นั ผเู้ ขยี นประวตั ศิ าสตรอ์ าจ
แยกเป็นกลุม่ ใหญ่ได้ 2 กลมุ่ ดังนี้
1) ผู้เขียนประวัติศาสตร์ที่มีชีวิตอยู่ร่วมสมัย หมายถึง ผู้เขียนเร่ืองราว เหตกุ ารณ์ หรือ
สง่ิ สำ� คญั ทพี่ บเหน็ ดว้ ยตนเอง เชน่ สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงนพิ นธน์ ทิ านโบราณคดี ซงึ่
ประกอบดว้ ยเรอ่ื งตา่ งๆ ทพี่ ระองคไ์ ดพ้ บเหน็ หรอื หลวงอุดมสมบัติ (จัน) ขา้ ราชการในกรมพระคลงั สนิ คา้
ได้บนั ทึกรายงานขอ้ ราชการ เก่ียวกบั หัวเมืองปกั ษ์ใต้ และหวั เมืองมลายู ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้า-
เจา้ อยหู่ วั และเหลา่ ขนุ นางไดป้ ระชมุ ปรกึ ษาหารอื กนั ทกี่ รงุ เทพฯ เพอ่ื สง่ ให้ พระยาศรพี พิ ฒั น์ ซง่ึ เปน็ แมท่ พั
น�ำก�ำลังไปช่วยเมืองนครศรีธรรมราช และเมืองสงขลา รบกับกองทัพเมืองไทรบุรี เมื่อ พ.ศ. 238123
หลวงอุดมสมบัติได้เป็นผู้ฟังการประชุมด้วยตนเอง จึงถือว่าเป็นผู้เขียนประวัติศาสตร์ที่มีชีวิตอยู่ร่วมสมัย
หรือการเขียนเร่ืองราวจากประสบการณ์ของตนเอง เช่น สุกิจ นิมมานเหมินทร์ เขียนเร่ือง ส่ีปีในสหรัฐ
เป็นเร่ืองที่เขียนจากประสบการณ์ในช่วงเวลาท่ีเดินทางไปท�ำงานท่ีประเทศสหรัฐอเมริกาในฐานะ
เอกอคั รราชทูตไทย เป็นตน้
21 นธิ ิ เอยี วศรวี งศ์ และอาคม พฒั ยิ ะ. (2525). หลกั ฐานประวตั ศิ าสตรใ์ นประเทศไทย (ส 021). กรงุ เทพฯ: บรรณากจิ . น. 11.
22 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกก่อต้ัง 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ฟิลิปปินส์
มาเลเซยี สิงคโปร์ และอินโดนเี ซยี ทไ่ี ดร้ ่วมลงนามใน “ปฏญิ ญากรงุ เทพฯ” (Bangkok Declaration) หรือ “ปฏิญญาอาเซียน”
(ASEAN Declaration) ปัจจบุ นั อาเซียนมีสมาชกิ เพิม่ ขนึ้ ได้แก่ บรูไนดารสุ ซาลาม สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม สาธารณรฐั
ประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพม่า และราชอาณาจักรกัมพูชา
23 พรชัย นาคสีทอง. (2548). การศึกษาจดหมายเหตุหลวงอดุ มสมบัติในฐานะท่เี ปน็ เอกสารทางประวัติศาสตร์. ปรญิ ญา
นพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ (ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย) ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. น. 221.