Page 18 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 18
1-8 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
- พจนานุกรมเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 ให้ความหมายของค�ำว่า ประวัติ หมายถึง
เรอ่ื งราว ความเปน็ ไป เหตกุ ารณ์ สำ� หรบั ความหมายประวตั ศิ าสตร์ พจนานกุ รมฉบบั นหี้ มายถงึ วชิ าวา่ ดว้ ย
เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ มาหรอื เร่ืองราวของประเทศชาต1ิ 1
- พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค้ วามหมายของคำ� วา่ ประวตั ิ หมายถงึ
เรอื่ งราววา่ ดว้ ยความเปน็ ไปของคน สถานที่ หรือสง่ิ ใดส่ิงหนึง่ เช่น ประวัตศิ รปี ราชญ์ ประวัตวิ ัดมหาธาตุ
ส�ำหรับความหมายประวัติศาสตร์ พจนานุกรมฉบับนี้ให้ความหมายว่าเป็นวิชาว่าด้วยเหตุการณ์ที่เป็นมา
หรือเรอ่ื งราวของประเทศชาติ เปน็ ต้น ตามทีบ่ ันทึกไวเ้ ป็นหลักฐาน12
- พจนานุกรมภาษาอังกฤษท่ีจัดพิมพ์โดยมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of
Oxford) ไดใ้ หค้ วามหมายประวตั ศิ าสตรไ์ วห้ ลายความหมาย ซงึ่ สรปุ ไดว้ า่ ประวตั ศิ าสตร์ หมายถงึ ความ
ต่อเน่ือง พงศาวดาร และการบันทกึ เหตกุ ารณ์สำ� คญั หรือเรื่องราวสาธารณะ
ประวตั ศิ าสตร์ คอื การศกึ ษาเหตกุ ารณใ์ นอดตี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั มนษุ ยชาติ หรอื การสรา้ งสมการพฒั นา
โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ชาติ บคุ คลหรอื สง่ิ ตา่ งๆ เชน่ ประวตั ขิ องเกาะหรอื ประวตั คิ วามเจบ็ ปว่ ย ความหมาย
ของประวัตศิ าสตรโ์ ดยท่วั ไป คอื อดีตหรอื ความเก่าแก่ หรอื เตม็ ไปด้วยเหตกุ ารณใ์ นอดีต เช่น บา้ นหลงั น้ี
มปี ระวตั ิศาสตร์
ประวตั ิศาสตร์ หมายถงึ การวิพากษว์ ิจารณ์ หรือการวจิ ัยเหตุการณใ์ นอดตี 13
- นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้ให้ความหมายประวัติศาสตร์ว่า ประวัติศาสตร์สนใจพฤติกรรมทาง
สงั คมมนุษยใ์ นแต่ละยุคสมัยหรอื กลา่ วอีกนยั หน่ึง นักประวัตศิ าสตรส์ นใจความสัมพันธเ์ ชิงตอบโต้ระหวา่ ง
มนษุ ย์ และเวลาที่แวดล้อมตวั เขา14
- สบื แสง พรหมบญุ ใหค้ วามหมายวา่ ประวตั ศิ าสตรค์ อื การเขยี นขอ้ เทจ็ จรงิ ของเหตกุ ารณ์
และประสบการณใ์ นอดตี ที่นักประวัตศิ าสตรเ์ ห็นว่ามคี ุณค่าขึน้ มาใหม่โดยอาศยั การค้นควา้ วิเคราะห์ และ
ตีความจากหลักฐานท้งั ปวงท่มี ีอย1ู่ 5
- ต้วน ลี เซิง นักประวัติศาสตร์จีนผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์ไทย ได้ให้ความหมายว่า
ประวัติศาสตร์เป็นเหตุการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับสังคมมนุษย์ทั้งหมดซึ่งเกิดข้ึนก่อนหน้าปัจจุบัน ถือเป็น
ประวัตศิ าสตร์ท้ังส้ิน เมื่อเรานำ� เหตกุ ารณใ์ นอดีตของสงั คมมาทำ� การศกึ ษาจึงเกิดวชิ าประวัติศาสตร์
ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย หมายถงึ เหตกุ ารณท์ งั้ หมดทเี่ คยปรากฏขนึ้ ในขอบเขตดนิ แดนไทยในปจั จบุ นั
ประวตั ิศาสตร์ไทยมิใชป่ ระวตั ศิ าสตรข์ องชนชาตไิ ทยเท่าน้ัน แต่จะเปน็ ประวตั ศิ าสตร์ของคนท้ังหลายทถ่ี อื
สญั ชาติไทย ซง่ึ ประกอบด้วย ไทย มอญ เขมร คนไทยเชอื้ สายจนี และพวกชาวเขาเผ่าต่างๆ คนเหล่านี้
ลว้ นมบี ทบาทสำ� คญั ในการสรา้ งประวตั ศิ าสตร์ไทยอันรุง่ โรจนแ์ ละยาวนาน16
11 พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530. (2534). พมิ พ์คร้งั ท่ี 11. กรุงเทพฯ: วฒั นาพานิช. น. 323.
12 พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรงุ เทพฯ: นานมบี คุ๊ ส์. น. 665.
13 The Oxford English Referencc Dictionary. (1996). 2nd ed. Oxford: Oxford University Press. p. 584.
14 นธิ ิ เอยี วศรวี งศ.์ (2527). “ประวตั ศิ าสตร์ และการวจิ ยั ทางประวตั ศิ าสตร.์ ” ใน ปรชั ญาประวตั ศิ าสตร.์ ชาญวทิ ย์ เกษตรศริ ิ
สุชาติ สวัสดิศ์ รี บรรณาธกิ าร. กรงุ เทพฯ: มูลนธิ โิ ครงการตำ�ราสงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์. น. 217.
15 วณี า เอยี่ มประไพ. (2535). หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ น. 22.
16 ต้วน ลี เซงิ . (2537). ประวตั ิศาสตร์ไทยในสายตาของชาวจีน. กรงุ เทพฯ: พิราบ. น. 18-19.