Page 15 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 15
กระบวนการเรียนรู้และการใชห้ ลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย 1-5
บทน�ำ
ในปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 20 ได้มีความคิดต่อเน่ืองจากภาวะทันสมัย (Modernization) คือ
โลกาภวิ ตั น์ (Globalization) ทมี่ สี าระสำ� คญั เชน่ ความคิดทีเ่ น้นเรอื่ งความหลากหลาย แทนแนวคิดเดมิ
ในเรื่องความไม่เท่าเทียมกัน หรือความคิดท่ีไม่เห็นด้วยในเร่ืองการพัฒนาว่าเป็นความก้าวหน้า ซึ่ง
นักวิชาการบางคนถือว่าเป็นความคิดที่คลุมเครือของความทันสมัย ท�ำให้สังคมเกิดความเส่ียงต่อการ
เปล่ียนแปลง ทั้งยังเป็นการพัฒนาท่ีไม่ย่ังยืน นอกจากนี้ในยุคโลกาภิวัตน์ ยังมีความคิดเร่ืองการสิ้นสุด
ของยคุ เกย่ี วกบั ความเชอื่ ในเรอื่ งอำ� นาจและบทบาทของรฐั ในยคุ ทโี่ ลกไรพ้ รมแดนดงั ในปจั จบุ นั คอื รฐั ไมไ่ ด้
มบี ทบาทสำ� คญั และมอี ำ� นาจเชน่ เดมิ 1 นกั วชิ าการเชอ่ื วา่ โลกาภวิ ตั นเ์ ปน็ กระบวนทศั นใ์ หมข่ องการพฒั นาท่ี
ท้าทายแนวความคิดเดิม และโลกาภิวัตน์จะช้ีให้เห็นถึงช่วงเวลามองประวัติศาสตร์ใหม่ ซึ่งแตกต่างจาก
ระยะเวลาของความทันสมัย2 ซ่ึงถ้าเช่ือแนวความคิดนี้ ผู้เรียนประวัติศาสตร์ย่อมตระหนักได้ว่ายุคของ
ความทันสมัยกำ� ลงั จะผ่านไป ในขณะที่สังคมก�ำลงั เปลย่ี นผา่ นเข้าสู่ยุคโลกาภวิ ัตน์
ปจั จยั สำ� คญั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงสงั คมใหเ้ ปน็ แบบโลกาภวิ ตั น์ เกดิ จากความกา้ วหนา้ ทาง
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะการสื่อสารท่ีเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายติดต่อกันได้ทั่วโลก กระแส
ดังกล่าวท�ำให้สังคมโลกเกิดความเคลื่อนไหว เช่น การแพร่กระจายของข่าวสารข้อมูล หรือการเดินทาง
ตดิ ตอ่ ระหวา่ งบคุ คลในภมู ภิ าคตา่ งๆ ในหลายทศิ ทางซงึ่ มผี ลใหม้ กี ารกระจายทางวฒั นธรรมประเภททนุ นยิ ม
และบรโิ ภคนยิ มอยา่ งไรพ้ รมแดน3 อยา่ งไรกต็ าม โลกาภวิ ตั นท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในสงั คมปจั จบุ นั มที งั้ ผลดที ท่ี ำ� ใหผ้ คู้ น
เดินทางติดต่อเพ่ือท�ำธุรกิจ ท่องเที่ยวหรือเย่ียมญาติพี่น้องได้โดยง่าย มีชีวิตท่ีสะดวกสบายและมีสินค้า
อปุ โภค บริโภคให้เลอื กมากมาย แต่ขณะเดียวกัน ก็ท�ำใหส้ ังคมเกดิ “ภาวะโลกเกนิ ความเป็นจรงิ ” (The
Hyper Reality World) ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก แฟชั่นเสอื้ ผ้าเคร่ืองแตง่ กาย รายการโทรทศั น์และการสือ่ สาร
การบนั เทงิ เรงิ รมย์ ภตั ตาคาร รา้ นคา้ ทม่ี กี ารโฆษณาสรา้ งภาพหรอื แตง่ เตมิ จนเกนิ ความเปน็ จรงิ แตใ่ นอกี
ดา้ นหนึง่ อิทธพิ ลของโลกไซเบอร์ ท�ำให้เกิด “สภาวะสังคมทเี่ สมือนจรงิ ” (The Virtual World) ที่ท�ำให้
ผคู้ นโดยเฉพาะเยาวชนตกอยใู่ นความฝนั ทสี่ ามารถทำ� อะไรกไ็ ดต้ ามใจปรารถนา การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม
ดงั กล่าว นักวิชาการบางคนมคี วามเหน็ ซง่ึ สรปุ ไดว้ ่า ภาพของสังคมโลกาภิวัตน์ คอื ภาพทีผ่ ้ใู หญพ่ ยายาม
หาเงิน เกียรติยศ ช่ือเสียง สะสมวัตถุ โดยอยู่ในวังวนของสังคมท่ีเกินจริง ขณะที่เยาวชนหลงติดอยู่ใน
สงั คมทเ่ี สมอื นจรงิ ผคู้ นในยคุ โลกาภวิ ตั นจ์ งึ ตา่ งมโี ลกของตนเอง สงั คมไทยยคุ โลกาภวิ ตั นก์ �ำลงั ถกู อทิ ธพิ ล
1 มนฤตยพ์ ล อรุ บญุ นวลชาต.ิ (2549). “หนว่ ยท่ี 1 แนวคดิ เกยี่ วกบั การศกึ ษา การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง
และวฒั นธรรมไทย.” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ าการวเิ คราะห์ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื งและวฒั นธรรมไทย. นนทบรุ :ี
มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. น. 1-21-1-22.
2 เรื่องเดยี วกนั . น. 1-22.
3 ไพฑรู ย์ มกี ศุ ล. (2548). “โลกยคุ โลกาภวิ ตั น.์ ” ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ าอารยธรรมมนษุ ย.์ นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั
ธรรมาธริ าช. น. 245.