Page 17 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 17
กระบวนการเรียนรแู้ ละการใช้หลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย 1-7
ความหมายของประวัติศาสตร์ ในตอนน้ีอาจแบ่งได้เป็นสองเร่ืองคือ เรื่องภูมิหลังของค�ำว่า
ประวตั ิศาสตรแ์ ละการให้ความหมายประวัตศิ าสตร์ โดยนักประวัตศิ าสตร์ ดังนี้
1. ภูมิหลังของค�ำว่าประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มีท่ีมาจากค�ำว่า History เป็นค�ำในภาษา
อังกฤษ ที่มีรากศัพทม์ าจากภาษากรกี วา่ Histor มีความหมายวา่ ถกั หรอื ทอ ซงึ่ เฮโรโดตัส (Herodotus,
484-425 ก่อนคริสต์ศักราช) นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก ได้น�ำค�ำศัพท์น้ีมาใช้เพ่ือเรียกงานเขียนทาง
ประวัติศาสตร์ของตนเองว่า Historiai ในที่สุดค�ำนี้จึงแพร่หลายไปยังกลุ่มชนต่างๆ แต่เรียกและสะกด
แตกตา่ งไปตามภาษาของตน เชน่ ภาษาละตนิ ใชค้ ำ� วา่ Historia ภาษาฝรงั่ เศส และสเปนใชค้ ำ� วา่ Histoire
ภาษาอิตาเลยี นใชค้ ำ� ว่า Storia และภาษาองั กฤษใช้คำ� ว่า History8 เฮโรโดตัส ไดร้ ับการยกย่องว่าเป็น
บิดาแห่งประวัติศาสตร์ ทั้งน้ีเพราะเขาได้เขียนหนังสือไว้หลายเล่ม หนังสือส�ำคัญเล่มหน่ึงคือเร่ืองราว
เกี่ยวกับกองทัพของเปอรเ์ ซียที่ยกทพั มาโจมตีกรกี 2 ครง้ั เมือ่ ประมาณปีที่ 53 ก่อนพทุ ธศกั ราช และปที ่ี
43 กอ่ นพทุ ธศักราช ผลงานของเขามคี ณุ ค่าทท่ี ำ� ให้ชนร่นุ หลังได้ทราบถงึ เหตุการณป์ ระวตั ศิ าสตร์ระหว่าง
เปอรเ์ ซยี กบั กรกี ในยคุ โบราณ แตส่ ง่ิ ทมี่ คี ณุ คา่ ยง่ิ กวา่ กค็ อื เขาไดน้ �ำหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ าศกึ ษาเพอ่ื
เขยี นเปน็ เรอื่ งราว ซงึ่ ตา่ งจากนกั เขยี นประวตั ศิ าสตร์สมยั ก่อนทเ่ี ขยี นเหตกุ ารณห์ รือเรอื่ งราวส�ำคญั ในอดตี
แบบเทพปกรณมั หรอื ต�ำนาน9 ภายหลงั จากสมยั ของเฮโรโดตสั นกั ประวตั ศิ าสตรจ์ งึ ไดเ้ ขยี นประวตั ศิ าสตร์
โดยให้ความส�ำคัญต่อหลักฐานประวัติศาสตร์ ซ่ึงมีผลให้สถานภาพการศึกษาประวัติศาสตร์มีลักษณะเป็น
วชิ าการ จนกระทง่ั เป็นวิชาประวตั ศิ าสตร์ในปัจจบุ นั
สำ� หรบั ประเทศไทยคำ� วา่ “ประวตั ศิ าสตร”์ เปน็ คำ� ทบี่ ญั ญตั ขิ น้ึ จากศพั ทภ์ าษาองั กฤษโดยพระบาท-
สมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั แทนค�ำที่เคยใช้บอกเล่าหรอื เขยี นเรื่องราวท่ีเกีย่ วข้องกับอดตี เชน่ คำ� ว่า
โบราณคดี ต�ำนาน หรือพงศาวดาร พระองค์ทรงน�ำประวัติศาสตร์มาใช้เพ่ือให้ความหมาย ตีความ และ
วินิจฉัยเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนในอดีตท�ำให้ประวัติศาสตร์ไทยเร่ิมแตกต่างจากต�ำนานหรือพระราชพงศาวดาร10
ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า การศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงวิชาการได้พัฒนายิ่งข้ึนในรัชกาลพระบาทสมเด็จ-
พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จนกระทงั่ วชิ าประวตั ศิ าสตรไ์ ดร้ บั การบรรจไุ วใ้ นหลกั สตู รของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ในเวลาต่อมา
2. การให้ความหมายประวัติศาสตร์โดยนักประวัติศาสตร์ การให้ความหมายของค�ำว่า
ประวตั ศิ าสตรไ์ มอ่ าจทำ� ไดโ้ ดยงา่ ย เนอ่ื งจากประวตั ศิ าสตรม์ คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั มนษุ ยใ์ นดา้ นพฤตกิ รรมซงึ่
รวมทงั้ ความนกึ คดิ ความรสู้ กึ และอารมณท์ ม่ี ที ง้ั ความหลงั ความหวงั อดุ มการณ์ และจนิ ตนาการ ดงั นนั้
การให้ความหมายประวัติศาสตร์จึงไม่อาจลดทอนให้อยู่ภายใต้ค�ำอธิบายท่ีถูกต้องได้เพียงชุดเดียว แต่
อย่างไรก็ตามได้มีพจนานุกรมและนักประวัติศาสตร์ท่ีให้ความหมายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ในเชิงวิชาการ
ไวอ้ ย่างหลากหลาย ดงั นี้
8 ดนยั ไชยโยธา. (2537). พัฒนาการวิธีการเขียนประวตั ศิ าสตร์ นิพนธก์ ับปรัชญา ประวตั ศิ าสตร์. กรงุ เทพฯ: โอเดยี น-
สโตร์. น. 3.
9 Herodotus. (1996). Histories. Translated with Nothes by George Rawlinson. With and Introduction by
Tom. pp.vi-vii.
10 วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2538). “ประวัติศาสตร์คืออะไร.” ใน ประวัติศาสตร์. (มกราคม-มีนาคม). คณะอักษรศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 1 (1). น. 7.