Page 16 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 16
1-6 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
ของสภาวะเกนิ จรงิ และความเสมือนจรงิ ครอบง�ำอยา่ งหลีกเลย่ี งไดย้ าก ทัง้ สงั คมเมอื งและชนบท4 คำ� ถาม
ก็คือการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน และ
เผชิญหนา้ กับมายาโลกาภิวตั น์5 ไดอ้ ย่างรเู้ ทา่ ทนั และปรบั ตวั อยา่ งเหมาะสมได้หรอื ไม่
กระบวนการเรียนรู้และการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
และสามารถปรบั ตวั ในสงั คมมายาโลกาภวิ ตั น์ ซง่ึ มที ง้ั สภาวะเกนิ จรงิ และเสมอื นจรงิ ทหี่ ลงั่ ไหลดว้ ยขา่ วสาร
ในลักษณะข่าวลือ ข่าวเท็จ ข่าวลวง ปะปนกบั ข่าวจริงไดอ้ ย่างรเู้ ทา่ ทนั ทง้ั น้ีเนื่องจากกระบวนการเรียนรู้6
ทางประวัติศาสตร์ ช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ได้ ดังเช่น การพัฒนาตาม
กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ใิ นดา้ นตา่ งๆ ของสำ� นกั งานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษาอยา่ งนอ้ ย 5 ดา้ นคอื การเปน็
ผมู้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรู้ ทกั ษะทางดา้ นปญั ญา ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
ตลอดจนทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ7 อย่างไรก็ตาม
กระบวนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเม่ือนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
กระบวนการเรยี นรแู้ ละการใช้หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ นอกเหนอื จากการใฝ่หาความรู้ และตระหนกั ถงึ
ความส�ำคัญในการฝกึ ฝนตนเองให้มีความสามารถในเชงิ วชิ าการ และการเป็นผมู้ ีคณุ ธรรม
เรื่องที่ 1.1.1
ความหมายของประวัติศาสตร์
ผทู้ ศี่ กึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ควรเรม่ิ ตน้ ด้วยการท�ำความเขา้ ใจเกี่ยวกับความหมาย และองคป์ ระกอบ
ในการศึกษาประวตั ิศาสตรก์ อ่ น ทง้ั นีเ้ นื่องจากคนโดยท่ัวไปมกั เข้าใจว่าประวตั ิศาสตร์เป็นเรือ่ งท่ีเกดิ ขึ้นใน
อดีต ซ่ึงเป็นเรื่องราวที่ผ่านมาแล้ว แต่ในความเป็นจริงการศึกษาประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเหตุการณ์
เรื่องราวหรือสิ่งส�ำคัญในอดีตซึ่งมีผลหรือผลกระทบที่ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อสังคมที่มักส่งผลหรือ
ต่อเนอ่ื งถึงปัจจุบัน ดังนั้นประวตั ศิ าสตรจ์ งึ ไม่ใชเ่ ร่อื งราวทผ่ี ่านไปโดยไม่เกี่ยวขอ้ งกบั ปจั จุบนั
4 ณัฐยา อนุ่ สกลุ . (2550). “โลกาภวิ ัตน:์ โลกท่ีเป็นเกินจริง และโลกเสมอื นจริง.” ใน วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุร.ี
(เมษายน–กนั ยายน) 2 (1). น. 103-104.
5 คำ�วา่ มายาโลกาภวิ ตั น์ ผ้เู ขยี นนำ�มาจากหนังสือชอ่ื มายาโลกาภวิ ตั น์ เขยี นโดย ยคุ ศรีอาริยะ
6 คณะกรรมการอดุ มศกึ ษาไดใ้ หค้ วามหมายของคำ�วา่ กระบวนการเรยี นรู้ หมายถงึ การเปลย่ี นพฤตกิ รรมทนี่ กั ศกึ ษาพฒั นา
ขึ้นในตนเอง จากประสบการณ์ท่ไี ด้รับระหวา่ งการศึกษา อา้ งใน สำ�นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา. (2552). กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศกึ ษาของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: คณะกรรมการอดุ มศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. น. 6.
7 กระบวนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์อาจช่วยนักศึกษาพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ได้หลากหลาย แต่ในหน่วยน้ีได้ใช้
มาตรฐานคุณวุฒินักศึกษามหาวิทยาลัย ซ่ึงกำ�หนดโดยสำ�นักคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นกรอบ เพื่อเป็นแนวทางให้นักศึกษา
สามารถปรบั ตัวในสงั คมยคุ โลกาภิวัตน์ และสามารถพัฒนาตนเองและงานสงั คมได้ อา้ งใน สำ�นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา.
เรือ่ งเดียวกนั .