Page 19 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 19

กระบวนการเรยี นรแู้ ละการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย 1-9
       นอกจากน้ียงั มีนกั วิชาการชาวต่างชาติทใ่ี ห้ความหมายเกยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตร์ เชน่

            - 	โรบิน จี คอลลิงวูด (Robin G. Collingwood) ให้ความหมายว่า ประวัติศาสตร์คือ
ศาสตรท์ ีว่ า่ ดว้ ยความพยายามทีจ่ ะตอบคำ� ถามเก่ียวกบั พฤติกรรมของมนษุ ย์ในอดตี 17

            - 	โรเบอร์ต วี แดเนยี ลส์ (Robert V. Daniels) ใหค้ วามหมายว่าประวตั ิศาสตรค์ อื ความ
ทรงจำ� วา่ ดว้ ยประสบการณข์ องมนษุ ย์ ซง่ึ ถา้ ถกู ลมื หรอื ละเลยกเ็ ทา่ กบั วา่ เราไดย้ ตุ แิ นวทางอนั บง่ ชวี้ า่ เราคอื
มนษุ ย์ หากไม่มปี ระวัตศิ าสตรเ์ สียแล้ว เราจะไม่ร้เู ลยวา่ เราคือใคร เปน็ มาอยา่ งไร เหมอื นคนเคราะหร์ า้ ย
ตกอย่ใู นภาวะมนึ งง เสาะหาเอกลกั ษณ์ของเราอย่ทู า่ มกลางความมืด18

            - 	อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) ให้ความหมายว่า ประวัตศิ าสตร์คือเรอื่ งราวอันตอ่ เนอื่ งของ
การโตต้ อบกนั ระหวา่ งนกั ประวตั ศิ าสตรก์ บั หลกั ฐานขอ้ เทจ็ จรงิ เปน็ เรอื่ งถกเถยี งระหวา่ งปจั จบุ นั กบั อดตี ที่
ไม่มีสิน้ สดุ 19

       นานาทศั นะดงั กล่าวอาจสรปุ ได้ว่าประวตั ศิ าสตรเ์ กยี่ วข้องกับมนษุ ย์ 2 ประการ คือ ประการแรก
ประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ เหตกุ ารณ์ เรอ่ื งราวหรอื สงิ่ สำ� คญั ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในอดตี ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั พฤตกิ รรมของมนษุ ย์ ซงึ่
กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม ประการทสี่ อง ประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ ศาสตรแ์ ขนงหนง่ึ ทศี่ กึ ษาเรอื่ งราวที่
เก่ียวกับมนุษย์ในอดีต โดยผ่านการศึกษาค้นคว้าด้วยกระบวนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เพ่ืออธิบาย
เหตกุ ารณ์ เรอ่ื งราวหรอื สง่ิ สำ� คญั ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในอดตี นอกจากนี้ สมสมยั ศรศี ทู รพรรณ (จติ ร ภมู ศิ กั ด)ิ์ ไดใ้ ห้
ความหมายเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตร์ว่า โดยท่ีแท้แล้ววิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยความ
จดั เจนในการตอ่ สทู้ างสงั คมมนษุ ย์ ซง่ึ วชิ านเ้ี สมอื นตวั อยา่ งของการตอ่ สทู้ างสงั คมของคนรนุ่ หลงั การศกึ ษา
วชิ าประวัตศิ าสตรจ์ ึงเป็นหัวใจแห่งการศึกษาความเปน็ มาของสังคม เปน็ กุญแจดอกสำ� คญั ท่ีจะไขไปสกู่ าร
ปฏบิ ัติอนั ถกู ตอ้ ง20

       อยา่ งไรกต็ ามในยคุ โลกาภวิ ตั น์ ทสี่ งั คมมคี วามซบั ซอ้ น เปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ไมแ่ นน่ อน และ
เป็นสังคมท่ีมีทางเลือก คนท่ัวไปที่ไม่ใช่นักประวัติศาสตร์ เช่น นักศึกษาอาจให้ค�ำจ�ำกัดความของ ค�ำว่า
ประวตั ิศาสตรไ์ ดต้ ามความเข้าใจของตนเองไดด้ ้วย

กิจกรรม 1.1.1
       นกั ศกึ ษาชอบการใหค้ วามหมายประวตั ศิ าสตร์ ของใครมากทสี่ ดุ เพราะเหตใุ ดและเขาไดใ้ หค้ วาม

หมายว่าอยา่ งไร

	 17 วณี า เอีย่ มประไพ. เร่ืองเดียวกนั . น. 1. อา้ งองิ จาก R. G. (1982). The Idea of History. 21st ed. London: Oxford
University Press. p. 9.

         18 ดนยั ไชยโยธา. เรอื่ งเดยี วกัน. น. 4. อา้ งอิง Robert V. Daniels. p. 1.
         19 เรอื่ งเดยี วกนั . น. 6. อา้ งองิ E. H. Carr. (2518). “ประวตั ศิ าสตรค์ อื อะไร.” แปลโดย ชาญวทิ ย์ เกษตรศริ .ิ ใน วารสาร
ธรรมศาสตร.์ 4: 3 (กมุ ภาพันธ-์ พฤษภาคม 2518). น. 91.
         20 อานันท์ กาญจนพนั ธ์. (2530). “วิธีการศึกษาประวัตศิ าสตรข์ องจิตร ภมู ศิ กั ด์ิ.” ใน ความคิดและความเคล่ือนไหวทาง
สังคม. กรงุ เทพฯ: สถาบันวจิ ยั สังคม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. น. 58.
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24