Page 59 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 59

กระบวนการเรยี นรแู้ ละการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย 1-49
            ข. ความเข้าใจสังคม วธิ ีการหน่ึงทป่ี ระวตั ิศาสตร์ชว่ ยใหม้ นุษย์เขา้ ใจสงั คม คือ การศึกษา
อดตี หรอื ประวตั ศิ าสตรข์ องสงั คมนน้ั เชน่ เรอื่ งการเรมิ่ ตน้ การตง้ั ถน่ิ ฐานในสงั คมใดสงั คมหนง่ึ โดยคนกลมุ่ ไหน
มกี ารบรหิ าร หรอื กฎระเบยี บอะไรทท่ี �ำใหส้ งั คมมคี วามมนั่ คง มภี าษา ความเชอ่ื และศาสนา ประเพณี และ
พธิ กี รรมใดบา้ งทที่ ำ� ใหส้ งั คมมคี วามเปน็ หนง่ึ เดยี ว รวมทงั้ ประสบการณข์ องสงั คม เชน่ การแกไ้ ขปญั หาใน
การดำ� รงชวี ิตดว้ ยภูมิปัญญาที่สรา้ งสมมาต้ังแต่บรรพบุรุษของคนในสังคมนน้ั ความเข้าใจสงั คม กอ่ ให้เกิด
ความตระหนักว่า สังคมนน้ั เป็นแหลง่ ทีใ่ ห้ประโยชน์แก่ตนเอง เชน่ เปน็ ทีอ่ ย่อู าศัย ใหค้ วามปลอดภัย ให้
อาหาร ให้สถานภาพของตนเอง และมีญาติพ่ีน้องเพ่ือนฝูง ความเข้าใจสังคมจึงก่อให้เกิดความเคารพใน
กฎระเบียบ และเหน็ คุณค่าของวฒั นธรรมในวถิ ชี วี ิตของคนในสงั คม ตลอดจนมคี วามเข้าใจผ้อู นื่
            ค. ความเขา้ ใจมนษุ ย์ ผศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรม์ กั ทราบวา่ หลกั ฐานประวตั ศิ าสตรต์ า่ งๆ เขยี นขนึ้
โดยมนุษย์ที่มคี วามคดิ ความรู้สกึ อารมณร์ กั โลภ โกรธ หลง ผศู้ ึกษาประวัติศาสตร์จึงถูกส่ังสอนให้น�ำ
หลกั ฐานมาใชอ้ ยา่ งระมดั ระวงั ในลกั ษณะทสี่ มดลุ เพอื่ ผลติ งานเขยี นโดยไมม่ อี คติ ผศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรท์ ดี่ ี
จงึ ตอ้ งมจี ติ ใจซอ่ื ตรง ผลติ งานเขยี นทเ่ี ปน็ กลาง อธบิ ายเหตกุ ารณ์ เรอื่ งราวหรอื สง่ิ สำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์
ตามหลักฐานทร่ี วบรวมได้
       ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความส�ำนึกในคุณค่าของประวัติศาสตร์จึงมีผลต่อนิสัยและพฤติกรรมด้าน
คุณธรรม จริยธรรม กล่าวคือการเคารพในตนเองขณะเดียวกันก็ยอมรับความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความ
หลากหลายในสงั คม รวมท้ังมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคมด้วย
       2. 	ด้านความรู้ (Knowledge) การเรียนประวัตศิ าสตรท์ �ำให้มีความรู้ดงั นี้
            ก.	ความรู้เร่ืองเหตุการณ์ เร่ืองราว และสิ่งส�ำคัญต่าง ๆ ในอดีต ซ่ึงหมายความว่าผู้เรียน
ประวัติศาสตร์มีความรู้เรื่องก�ำเนิดหรือพัฒนาการของเหตุการณ์ เร่ืองราว และส่ิงส�ำคัญต่างๆ ที่เรียกว่า
การเข้าสู่ปัญหาด้วยประวัตศิ าสตร5์ 3 วิธีนที้ �ำใหผ้ ู้เรยี นประวตั ศิ าสตรม์ ขี อ้ มลู มากมาย มคี วามรลู้ กึ และกวา้ ง
ขวาง เชน่ ความขดั แยง้ เรอื่ งเขตแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศเพ่อื นบ้าน อาจวิเคราะหด์ ว้ ยการเข้าสู่
ปัญหาด้วยประวัติศาสตร์ได้ว่าเกิดจากปัจจัยส�ำคัญ ประการหน่ึงคือการที่ชาติมหาอ�ำนาจตะวันตกใน
ชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19-20 เปน็ ผกู้ ำ� หนดเขตแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นโดยไมย่ ดึ หลกั
การปกั ปนั เขตแดนแบบสากล จงึ มผี ลกระทบกอ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ระหวา่ งไทยกบั ประเทศเพอื่ นบา้ นเรอ่ื ง
เขตแดนสืบเนื่องถึงปัจจบุ ัน
            ข.	พ้ืนฐานความรู้ของวิชาต่าง ๆ ความรู้หรือศาสตร์อาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้สอง
ประเภท คอื ศาสตรบ์ รสิ ทุ ธิ์ กบั ศาสตรป์ ระยกุ ต์ ประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ ศาสตรบ์ รสิ ทุ ธิ์ ซง่ึ อาจไมม่ ปี ระโยชนใ์ น
การน�ำความรไู้ ปปฎิบัตไิ ดโ้ ดยตรง เชน่ ความรใู้ นด้านการกอ่ สร้าง ความรู้ในการเพาะปลกู หรอื ความร้ใู น
การรกั ษาโรค แตป่ ระวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ ศาสตรท์ ใ่ี หค้ วามรพู้ น้ื ฐานซง่ึ เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ แกศ่ าสตรป์ ระยกุ ตต์ า่ งๆ ไมว่ า่
จะเปน็ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และมนษุ ยศาสตร์ การเรียนวิชาเหลา่ น้ี จึงเริ่มตน้ ด้วยการเรยี น
ประวัติ หรือก�ำเนิดของวิชาน้ันๆ เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ประวัติการเกษตรและเทคโนโลยี รวมทั้ง
ประวตั ิการค้นพบและรกั ษาโรคตา่ งๆ เป็นตน้

	 53 นธิ ิ เอียวศรวี งศ์ และอาคม พฒั ิยะ. เรอื่ งเดียวกัน. น. 24
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64