Page 54 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 54
1-44 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
1.5 การศึกษาประวัติศาสตร์ผ่านแนวคิดทฤษฎีความเจริญเติบโต คอื การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์
เศรษฐกจิ ไทย โดยใชแ้ นวคดิ ความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ มาใชเ้ ปน็ กรอบในการวิเคราะห์ ผู้มีบทบาท
ต่อการศึกษาประวตั ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ แนวน้ี ไดแ้ ก่ ไพฑูรย์ สายสวา่ ง เขยี นเรอื่ ง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ
ของลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยา และอัมมาร์ สยามวาลา เขียนเร่ือง การค้าระหว่างประเทศกับระบบเศรษฐกิจ
ภายในประเทศ (พ.ศ. 2363-2398) และงานของอานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์ เขยี นเรอื่ ง แรงงานในประวตั ศิ าสตร์
ลา้ นนาไทย นอกจากนยี้ งั มกี ารศกึ ษาแบบเจาะลกึ ไปทเ่ี รอื่ งเศรษฐกจิ เฉพาะ เชน่ ประวตั ขิ า้ ว ดบี กุ ยางพารา
และงานเขยี นทศ่ี ึกษาเก่ยี วกบั ชมุ ชนโบราณ โดย ศรศี กั ร วัลลิโภดม
ความเคลอ่ื นไหวในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ต่างๆ ดังกล่าวเปน็ การศึกษาอย่างเป็นระบบ มีความ
น่าเชอื่ ถอื และเพิ่มพูนความรดู้ ้านประวัติศาสตร์ใหแ้ กส่ งั คมได้เปน็ อย่างดี
2. แนวโน้มการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย
ข้อมูลที่น�ำมาวิเคราะห์แนวโน้มการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย ส่วนหน่ึงได้จากรายช่ือวิทยานิพนธ์
ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และจากการส�ำรวจรายช่ือวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิต
ศึกษาของนักศึกษา ภาควิชาประวัติศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ต้ังแต่ พ.ศ. 2548 ถึง 2552 ข้อมูลดังกล่าวท�ำให้ทราบถึงเร่ืองท่ีนักศึกษาสนใจ กล่าวคือ ในจ�ำนวน
วิทยานิพนธ์ 116 เล่ม ท่ีส�ำรวจเพิ่มเติมนักศึกษาสนใจประวัติศาสตร์การเมืองมากท่ีสุด รองลงไปคือ
ประวตั ิศาสตร์เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม นอกจากน้มี หี ัวขอ้ วทิ ยานิพนธจ์ ำ� นวนหนง่ึ ท่ีศึกษาเกย่ี วกับ
ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การขนส่ง การท่องเที่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การสงคราม และ
ชนกลมุ่ น้อย แต่หัวข้อทนี่ ิสติ ให้ความสนใจน้อย คือ ประวัตศิ าสตร์นิพนธ์ หรือการศกึ ษาตวั เอกสารช้นั ต้น
วทิ ยานพิ นธต์ ่างๆ เหลา่ นม้ี เี ร่อื งที่น่าสนใจ แตใ่ นทีน่ ีจ้ ะยกตวั อยา่ งเพยี งบางเรื่อง เช่น