Page 57 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 57
กระบวนการเรียนรแู้ ละการใชห้ ลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย 1-47
อย่างไรก็ตาม การท่ีสังคมเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ ท�ำให้มีงานเขียนของฟรานซีส
ฟุกยุ ามะ (Francis Fukuyama) เรือ่ ง The End of History and the Last Man ท่ีระบวุ ่าโลกได้มาถงึ
สมัยส้ินสุดประวัติศาสตร์ เขาให้เหตุผลว่า โลกจะเข้าสู่จุดเดียวกัน คือการเป็นระบบประชาธิปไตย แบบ
เสรีนิยม (Liberal Democracy) โดยให้เหตผุ ลวา่ ประวัติศาสตร์ไดพ้ สิ จู นแ์ ลว้ วา่ ระบบสังคมแบบอ่นื ไม่มี
เสถียรภาพ ประเทศเผด็จการทั้งหลายไม่ว่าเผดจ็ การจากทางขวาหรือทางซ้าย ต่างล่มสลาย อุดมการณ์
ทปี่ ระสบชยั ชนะคอื เสรนี ยิ ม และจะเปน็ อดุ มการณเ์ ดยี วของโลกแต่ ฉตั รทพิ ย์ นาถสภุ า มคี วามเหน็ วา่ การ
คดิ แบบตะวนั ตก ของฟรานซีส ฟกุ ุยามะดเู หมอื นว่าสังคมโลกมหี นทางเดยี ว50
แตใ่ นขอ้ เทจ็ จรงิ จะเหน็ แนวโนม้ การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทยจากผลงานนสิ ติ นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั
ต่างๆ ว่ามจี ำ� นวนเพ่มิ ขนึ้ และมกี ารศึกษาหลากหลายหัวขอ้ นอกจากนพ้ี ระราชด�ำรัสในสมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิตต์ พระบรมราชินีนาถ ถึงความส�ำคัญของวิชาประวัติศาสตร์ มีผลให้กระทรวงศึกษาธิการปรับปรุง
การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ และเพ่ิมเวลาการเรียนประวัติศาสตร์ในหลักสูตรแกนกลางหมวดวิชา
สงั คมศกึ ษา เป็นสปั ดาหล์ ะหนึง่ ชว่ั โมงจากเวลาท่ใี ชใ้ นการเรยี นสงั คมศึกษา
พระราชด�ำรสั ดงั กลา่ วอาจตคี วามไดว้ า่ เปน็ การสรา้ งสมดลุ ของความเปน็ โลกาภวิ ตั น์ คอื เนน้ เรอ่ื ง
การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย เชน่ เดยี วกบั การเคลอื่ นไหวของนกั วชิ าการ อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั
ต่างๆ ท่ีสนใจศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน และประวัติศาสตร์ชุมชน นอกจากน้ียังมีนักวิชาการที่ให้
ความสนใจศกึ ษาประวัติศาสตร์ของกล่มุ ผ้ดู ้อยโอกาส เช่น ประวัติศาสตรช์ นกลุ่มน้อย และประวัตศิ าสตร์
บทบาทและหน้าที่ของสตรี เป็นต้น
ความคดิ ทไ่ี มเ่ หน็ ดว้ ยวา่ โลกไดม้ าถงึ สมยั สนิ้ สดุ ประวตั ศิ าสตร์ อาจอา้ งองิ เพมิ่ เตมิ ไดจ้ ากความคดิ
ของอมาตยา เซน (Amataya Zen) นักเศรษฐศาสตร์รางวลั โนเบลท่มี ีอิทธพิ ลต่อ ศรชัย ฉัตรวิรยิ ะชัย ที่
กล่าววา่ ความคิดเหน็ ของ อมาตยา เซน ทำ� ใหเ้ ขามองเห็นกระแสโลกแบบใหมท่ ่ีเกดิ ขึ้นในกลุ่มคนเลก็ ๆ
ทั่วโลก คนเหลา่ น้ันหันมาทบทวนตนเองโดยการศกึ ษาจากธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม และภมู ิปญั ญาเกา่ แก่51
ซึ่งสรุปไดว้ ่า
กระแสการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรเ์ พอื่ ตอ่ ตา้ นโลกาภวิ ตั นด์ งั กลา่ ว สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ประวตั ศิ าสตรย์ งั
ไมถ่ ึงจุดจบ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามการศกึ ษาประวัติศาสตรใ์ นอนาคตนัน้ ชัยวัฒน์ คปุ ระตกุล มคี วามเหน็ วา่ ตวั
บคุ คลเปน็ ปัจจัยส�ำคญั ทีส่ ุดทกี่ ำ� หนดอนาคตประวตั ิศาสตร์ของตนเอง52 แนวโนม้ การศึกษาประวัติศาสตร์
จึงขึน้ อย่กู บั คนในปัจจุบนั ว่าต้องการให้อนาคตของโลกเปน็ อย่างไร
กิจกรรม 1.3.2
นกั ประวตั ศิ าสตร์ที่เขยี นประวัตศิ าสตร์แนวมนษุ ยนยิ ม มีความคิดในเรอื่ งใดเปน็ สำ� คัญ
50 ฉัตรทิพย์ นาถสภุ า. เรอ่ื งเดียวกัน. น. 79.
51 ศรชยั ฉตั รวริ ยิ ะชยั . (2554). “มงั คดุ พทุ ธศาสนา และอมาตยเซน”. ใน มตชิ นรายวนั . วนั เสารท์ ่ี 8 มกราคม 2554. น. 9.
52 ชัยวัตน์ คุประตกุล. (2545). ประวัติศาสตร์อนาคต. กรุงเทพฯ: สารคด.ี น. 15.