Page 53 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 53

กระบวนการเรยี นรู้และการใช้หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย 1-43
เขยี นโดย ม.ร.ว.อคนิ รพีพฒั น์ นอกจากน้ียงั มผี ศู้ ึกษาประวัตศิ าสตร์สงั คม เช่น ไพฑูรย์ มีกุศล เขยี นเรื่อง
การศกึ ษากลุ่มชาตพิ ันธใุ์ นประเทศไทย: ไทยกวย มลั ลกิ า เรอื งรพี (2518) บทบาทชาวจนี ในดา้ นเศรษฐกจิ
สงั คม และศลิ ปกรรมไทย สมยั รชั กาลท่ี 1 ถงึ รชั กาลที่ 4 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรซ์ ง่ึ เปน็ งานเขยี นประวตั ศิ าสตร์
สงั คมและวฒั นธรรมชนกลุ่มน้อย

       1.2		 การศึกษาประวัติศาสตร์แนวเศรษฐศาสตร์การเมือง เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ที่ได้รับ
อิทธิพลโดยตรงจากการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยแนวมาร์กซิสต์ที่เกิดข้ึนภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2
นกั ประวัติศาสตร์ทเ่ี ขยี นงานในแนวนท้ี ีโ่ ดดเด่นคือ สมสมัย ศรศี ทู รพรรณ (จติ ร ภูมิศักดิ)์ ที่เขยี นหนงั สอื
ส�ำคัญคือ โฉมหน้าศักดินาไทย ท่ีวิพากษ์วิจารณ์สังคมไทยตามแนวลัทธิมาร์กซิสต์ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
เขยี นหนงั สอื เรอ่ื ง วิวัฒนาการระบบเศรษฐกิจไทย โดยผา่ นกระบวนการคดิ ทฤษฎกี าร “ผลติ แบบเอเชยี ”
ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ งานประวตั ศิ าสตรแ์ นวเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื งทใ่ี ชห้ ลกั ฐานประวตั ศิ าสตรใ์ นงานเขยี นอกี หลายคน
เชน่ อานนั ท์ กาญจนพนั ธเุ์ ขยี นเรอื่ ง พฒั นาการเศรษฐกจิ ของหมบู่ า้ นในลา้ นนา สธุ ี ประศาสนเ์ ศรษฐเขียน
เรอ่ื ง ระบบทุนนิยมโดยรัฐในประเทศไทย ค.ศ. 1932-1959 สิรลิ ักษณ์ ศักดิเ์ กรียงไกร เขยี น ต้นก�ำเนิด
ชนช้ันนายทุนในประเทศไทย (พ.ศ. 2398-2475) และสุวิทย์ ไพทยวัฒน์ เขียน วิวัฒนาการเศรษฐกิจ
ชนบทภาคกลางของประเทศไทย พ.ศ. 2394-2475 เป็นตน้

       การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทยแนวเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงระบบ
เศรษฐกิจการเมืองในส่วนกลางหรือในเมืองเป็นหลัก แต่ในอีกด้านหน่ึงการใช้วิถีผลิตแบบเอเชียท�ำให้
ผู้ศึกษา เริ่มมองเห็นความส�ำคัญของชุมชนหมู่บ้าน พร้อมท้ังน�ำแนวคิดเชิงเศรษฐศาสตร์จากฐานคิดของ
ชาวบ้าน ชุมชน และหมู่บ้านมาใช้ในทางประวัติศาสตร์ รวมทั้งค�ำบอกเล่า ที่ผ่านการคัดกรองแล้วได้ถูก
น�ำมาเป็นหลักฐานในงานวจิ ัยอกี หลายเรอ่ื งในเวลาต่อมา

       1.3		 การศึกษาประวัติศาสตร์แนวมนุษยนิยม การศึกษาที่เป็นผลงานของนักประวัติศาสตร์ ท่ี
มิได้มุ่งเน้นแต่สังคมเท่านั้นแต่มองเห็นความเป็นมนุษย์ที่เป็นสมาชิกอยู่ในสังคมซึ่งเป็นผู้กระท�ำการใน
ประวตั ศิ าสตร์ แตใ่ นเวลาเดยี วกนั มนษุ ยก์ ไ็ มส่ ามารถทจี่ ะกระทำ� การใดๆ ตามอำ� เภอใจหรอื สภาพทต่ี อ้ งการ
แต่ยงั มอี ิทธิพลของโลกทัศน์ คา่ นิยม รสนิยม และเง่ือนไขอน่ื ๆ มีเป็นสว่ นผลักดนั เสริมใหเ้ กดิ ต่อการสรา้ ง
ปรากฏการณไ์ ปสกู่ ารเปน็ ประวตั ศิ าสตรน์ น้ั การศกึ ษาในแนวนเี้ รม่ิ ขนึ้ ตง้ั แต่ พ.ศ. 2520 โดย นธิ ิ เอยี วศรวี งศ์
เขยี นเรอ่ื ง วัฒนธรรมกระฎุมพีกับวรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์ สมเกยี รติ วนั ทะนะ เขยี นเรอื่ ง วิเคราะห์
เสือใบ-เสือด�ำ และวีรบุรุษคนยาก ของ ป.อินทรปาลิต

       1.4		 การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรร์ ฐั ศาสตร์ การใชแ้ นวคดิ ทางรฐั ศาสตร์ การเมอื งการปกครองมาเปน็
กรอบในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย นบั ตงั้ แตก่ ารปฏริ ปู ประเทศในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ -
เจ้าอยู่หัว จนกระทัง่ ถึงการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แนวคิดทางการศึกษาปรากฏอยูใ่ นงาน
ของ ชัยอนันต์ สมุทวณิช เช่น กบฏวังหลวง สมัยต่อมามีนักประวัติศาสตร์ได้น�ำแนวคิดด้านภูมิศาสตร์
และงานเกย่ี วกับความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ เช่น งานเขียนของ ปยิ ฉตั ร์ สินธุสอาด เร่ือง การปรากฏ
ตัวของอาณาจักรล้านช้างในสังคมสมัยสุโขทัย และในงานของธงชัย วนิจจะกูล เร่ือง การเปล่ียนแปลง
ภูมิทัศน์ของอดีตประวัติศาสตร์ไทยใหม่ในประเทศไทยหลัง 14 ตุลา
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58