Page 51 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 51

กระบวนการเรียนรูแ้ ละการใช้หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย 1-41
       ขั้นตอนท่ี 6 การเรียบเรียงและจัดล�ำดับบรรณานุกรม
       การเรยี บเรยี งเนอื้ หาทางประวตั ศิ าสตร์ ผศู้ กึ ษาตอ้ งวางโครงเรอื่ งใหช้ ดั เจนโดยแบง่ เปน็ หวั ขอ้ ใหญ่
และหัวข้อย่อย แล้วน�ำผลจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์มาเขียนเรียบเรียงให้เห็นถึงความสัมพันธ์และ
ความต่อเน่ืองของเหตุการณ์ เร่ืองราวหรือส่ิงส�ำคัญในอดีตที่ท�ำการศึกษา โดยอธิบายถึงสาเหตุต่างๆ ที่
ทำ� ให้เกิดเหตุการณ์ เรอ่ื งราวหรอื ส่งิ สำ� คัญในอดีต เหตกุ ารณท์ ีเ่ กิดขึ้น และผลท่ีตามมา ท้งั น้ีผศู้ กึ ษาอาจ
น�ำเสนอเปน็ เหตกุ ารณ์ เร่อื งราว หรอื สง่ิ สำ� คญั ในอดตี ที่เป็นพ้นื ฐาน หรอื เปน็ เชงิ วเิ คราะห์ ท้ังน้ีข้นึ อยกู่ ับ
จุดมุง่ หมายของการศึกษา จากน้นั จงึ จดั ทำ� บรรณานุกรม ซึ่งประกอบดว้ ยรายชือ่ หลกั ฐานตา่ งๆ ท่ผี ศู้ ึกษา
ใชอ้ า้ งองิ หรอื ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษา รวมทงั้ โสตทศั นปู กรณต์ า่ งๆ เชน่ รปู ภาพ แผนท่ี จากนนั้ จงึ นำ� เสนอในรปู
รายงานการวจิ ยั หรอื จดั พิมพเ์ ปน็ หนังสือ หรอื จัดเป็นนิทรรศการ เปน็ ต้น

                           ตารางที่ 1.6 สรุปวิธีการทางประวัติศาสตร์

                   วิธีการทางประวัติศาสตร์

การต้งั ประเดน็    คน้ หาและ         การวเิ คราะห์และประเมินคุณคา่
ปัญหาเรอื่ งราว    รวบรวม                  หลักฐาน ได้แก่
                   หลกั ฐาน
  ที่อยากรู้                          การวพิ ากษ์ตัวหลกั ฐาน และ
 ขั้นตอนที่ 1                         การวิพากษข์ ้อมลู ในหลกั ฐาน

                   ขั้นตอนที่ 2             ขั้นตอนที่ 3

  การตคี วาม       การวิเคราะหแ์ ละ           การเรยี บเรยี ง
   หลักฐาน          การสังเคราะห์           จัดทำ� บรรณานกุ รม
ทางประวตั ิศาสตร์                            และการน�ำเสนอ
  ขั้นตอนที่ 4         ข้อมลู
                     ขั้นตอนที่ 5             ขั้นตอนที่ 6

ท่ีมา:	พลับพลงึ คงชนะ. (2553). “ทกั ษะ วธิ ีสอน และกระบวนการเรียนรู้ทางประวตั ศิ าสตร.์ ” ใน เอกสารประกอบการอบรมเชงิ
      ปฏิบัติการ ครูผู้สอนประวัติศาสตร์ เร่ืองเทคนิคการสอน และวิธีการทางประวัติศาสตร์. น่าน: ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้
      ประวตั ิศาสตร์ โรงเรยี นสตรศี รนี า่ น. น. 141.

       วิธีการทางประวัติศาสตร์ตามข้ันตอนต่างๆ ดังกล่าว นักศึกษาอาจคิดว่าเป็นเรื่องยาก แต่ถ้า
นกั ศกึ ษาทดลองโดยเรม่ิ ตง้ั ประเดน็ คำ� ถามพนื้ ฐานทางประวตั ศิ าสตรจ์ ากเรอ่ื งทนี่ กั ศกึ ษาสนใจ แตย่ งั หาคำ� ตอบ
ไม่ได้ แล้วหาทดลองค�ำตอบโดยปฏิบัติตามข้ันตอน ในที่สุดนักศึกษาก็จะทราบว่าการพัฒนาการคิดด้วย
วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรไ์ มใ่ ช่เป็นเร่ืองยากทัง้ ยังมีประโยชน์ตอ่ ตนเอง
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56