Page 52 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 52
1-42 ประวัตศิ าสตร์ไทย
กิจกรรม 1.3.1
วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยข้ันตอนอะไรบา้ ง
แนวตอบกิจกรรม 1.3.1
วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรป์ ระกอบด้วยข้ันตอนทสี่ ำ� คญั ดงั น้ี
ข้ันตอนท่ี 1 การต้ังประเด็นปัญหา
ข้นั ตอนท่ี 2 ค้นหาและรวบรวมหลักฐาน
ขน้ั ตอนที่ 3 การวิเคราะห์และประเมนิ คณุ ค่าหลักฐาน
ข้นั ตอนท่ี 4 การตคี วามตามหลกั ฐาน
ข้นั ตอนที่ 5 การวเิ คราะหแ์ ละการสังเคราะหข์ อ้ มลู
ขั้นตอนท่ี 6 การเรยี บเรยี ง จัดทำ� บรรณานุกรม และการน�ำเสนอ
เรื่องที่ 1.3.2
ความเคลื่อนไหวและแนวโน้มในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย
1. การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยแนวต่าง ๆ
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยแนวต่างๆ ได้ให้ภาพความเคล่ือนไหวของการศึกษาประวัติศาสตร์
ไทย ตัง้ แต่สมยั การปรับปรุงประเทศให้เป็นแบบสมัยใหมจ่ นถึงปัจจบุ ันได้ 5 แนวทาง คือ48
1.1 การศึกษาประวัติศาสตร์ชาติและประวัติศาสตร์สังคม49 เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ชาติ
ทส่ี มเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรงวางรากฐานไว้ คอื การอธบิ ายประวตั ศิ าสตรโ์ ดยเนน้ ทอ่ี งคพ์ ระ-
มหากษัตริยใ์ นฐานะผ้กู ำ� หนดวถิ ปี ระวัติศาสตร์ ผ่านพระราชกรณยี กจิ ต่างๆ เช่น การปกครอง การท�ำนุ-
บ�ำรุงศาสนา การศึกษา การสาธารณูปโภค และการสงคราม ท่ีมีกรอบคิดเป็นการเน้นความเป็นชาติ
นักเขียนประวัติศาสตร์ในแนวน้ี ตัวอย่างเช่น ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี 1 ถึงรัชกาลที่ 3
(พ.ศ. 2325-2394) โดย ม.ร.ว. แสงโสม เกษมศรี และวิมล พงศ์พพิ ฒั น์ แต่ภายหลงั มพี ฒั นาการดา้ นมิติ
ของประชาชนเขา้ มาอธบิ ายประวตั ศิ าสตรแ์ นวนี้ ดงั ปรากฏในงานเขยี นของ ขจร สขุ พานชิ เรอื่ ง ฐานันดร
ไพร่ ยังมีเน้อื หาเกี่ยวกับสภาพราษฎรไทยในระยะ 574 ปี นับตง้ั แต่ พ.ศ. 1884 และมายบุ เลิกใน พ.ศ.
2448 ตอ่ มาไดม้ กี ารศกึ ษาประวตั ศิ าสตรส์ งั คม เชน่ เรอ่ื ง สงั คมไทยในสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. 2325-2453
48 พรเพ็ญ ฮน่ั ตระกลู และสายชล สตั ยานรุ กั ษ.์ เร่อื งเดียวกัน. น. 43-56.
49 ผเู้ ขยี นเตมิ เรอ่ื งการศึกษาประวตั ิศาสตร์สงั คม