Page 49 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 49

กระบวนการเรยี นรูแ้ ละการใช้หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย 1-39

เรื่องที่ 1.3.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์

       วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเหตุการณ์ เร่ืองราวและสิ่งส�ำคัญในอดีต
ของมนษุ ย์ หรอื สงั คมทม่ี กั เรมิ่ ตน้ จากความสงสยั ใครร่ ขู้ องผทู้ ตี่ อ้ งการศกึ ษา หรอื ตอ้ งการคน้ ควา้ หาคำ� ตอบ
ด้วยตนเอง วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นทางเลือกหนึ่งในยุคโลกาภิวัตน์ ที่ช่วยให้ผู้ฝึกฝนการคิดอย่าง
เปน็ กระบวนการ มวี จิ ารณญาณ ไมห่ ลงเชอื่ คำ� โฆษณาหรอื อา่ นหนงั สอื เพยี งเลม่ ใดเลม่ หนงึ่ แลว้ เชอื่ วา่ เปน็ จรงิ
นอกจากน้ีวิธีการทางประวัติศาสตร์ ท�ำให้ลดความสงสัยของนักวิชาการในสาขาอื่นท่ีตั้งค�ำถามว่าจะ
ค้นหาความจริงในอดีตได้อย่างไร ค�ำตอบก็คือ การค้นหาความจริงในประวัติศาสตร์สามารถท�ำได้ด้วย
วิธีการทางประวัติศาสตร4์ 3

       การคน้ ควา้ เรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตรม์ อี ยหู่ ลายวธิ ี แตว่ ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ กระบวนการ
คน้ หาความจรงิ อยา่ งเปน็ ระบบ โดยมหี ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั อยา่ งไรกต็ ามยงั มคี ำ� ถาม
ในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรป์ ระการหนง่ึ คอื อดตี ทม่ี กี ารฟน้ื หรอื จำ� ลองขน้ึ มาใหมน่ นั้ มคี วามถกู ตอ้ งสมบรู ณ์
และเช่ือถือได้เพียงใด รวมท้ังหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่น�ำมาใช้เป็น
ข้อมูลนั้น มีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นค�ำตอบเพราะสามารถใช้เป็น
แนวทางแกผ่ ศู้ กึ ษาจะไดน้ ำ� ไปใชค้ น้ ควา้ ดว้ ยความรอบคอบ ระมดั ระวงั และไมล่ ำ� เอยี ง วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์
จำ� แนกเปน็ ลำ� ดับขัน้ ดังน้ี

       ขั้นตอนที่ 1 การตั้งค�ำถามทางประวัติศาสตร์
       การตงั้ คำ� ถามเกดิ จากผใู้ ครร่ หู้ รอื สงสยั เกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์ เรอ่ื งราว หรอื สง่ิ สำ� คญั ในอดตี จงึ ทำ� ให้
มกี ารตั้งค�ำถามข้นึ ค�ำถามพื้นฐานทางประวัตศิ าสตร์ คือ ใคร อะไร ที่ไหน เมือ่ ไร อย่างไร และท�ำไม การ
ตั้งค�ำถามทางประวัติศาสตร์เช่นน้ี เป็นการระบุปัญหาทางประวัติศาสตร์ที่อาจน�ำไปสู่การต้ังหัวข้อในการ
ศกึ ษาค้นควา้ ตอ่ ไป44
       ข้ันตอนที่ 2 การรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์
       หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ อี ยหู่ ลายประเภทใหผ้ ศู้ กึ ษาไดเ้ ลอื กใช้ เชน่ หลกั ฐานทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณ-์
อกั ษร และหลกั ฐานทไี่ มเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร การรวบรวมหลกั ฐานควรทำ� ดว้ ยความชำ� นาญ โดยคดั เลอื ก
ข้อเท็จจริง แต่ละช้ินออกเป็นจ�ำพวกที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ เร่ืองราว และสิ่งส�ำคัญทาง

	 43 เตช บนุ นาค มคี วามเหน็ วา่ การทพี่ งศาวดารไดว้ วิ ฒั นาการมาเปน็ “ประวตั ศิ าสตร”์ ไดน้ ำ�ปญั หามาสวู่ ชิ านเี้ ปน็ อนั มาก
เพราะนกั ประวตั ศิ าสตรม์ กั รสู้ กึ วา่ วชิ าของตนนน้ั ไมม่ วี ธิ กี ารทเ่ี ครง่ ครดั ทดั เทยี มกบั ศาสตรอ์ น่ื ๆ ดว้ ยเหตนุ น้ี กั ประวตั ศิ าสตรส์ ากลสว่ นใหญ่
จงึ ไดเ้ พยี รพยายามทจ่ี ะขยายขอบเขตของการคน้ ควา้ และเลอื กเฟน้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทเ่ี ปน็ หลกั ฐานในประวตั ศิ าสตรใ์ หก้ วา้ งขวางออกไปและ
ลกึ ซง้ึ ยง่ิ ขน้ึ อกี ทง้ั กำ�หนดหลกั เกณฑใ์ นการพสิ จู นค์ ณุ ภาพหรอื ความนา่ เชอื่ ถอื ของหลกั ฐาน และวางหลกั การในการวเิ คราะหเ์ หตผุ ล
ใหเ้ คร่งครดั ยง่ิ ข้ึนกวา่ เดิม อา้ งใน เตช บุนนาค. (2549). “วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร”์ . ใน พระอาทิตยช์ ิงดวง. กรุงเทพฯ: สนั ติศริ -ิ
การพิมพ.์ น. 97.

         44 ปยิ นาถ บุนนาค. เรือ่ งเดยี วกนั . น. 15-16.
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54