Page 45 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 45

กระบวนการเรียนรแู้ ละการใช้หลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทย 1-35

เรื่องที่ 1.2.3
แหล่งข้อมูลในการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไทย

       การศึกษาหาความรู้หรือการค้นคว้าทางประวัติศาสตร์น้ัน การรู้แหล่งข้อมูลถือว่ามีความจ�ำเป็น
และสำ� คญั เพราะท�ำให้การหาข้อมลู เป็นไปได้อย่างรวดเรว็ และตรงกับหวั ข้อทีต่ อ้ งการศึกษา แหล่งขอ้ มลู
ในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทยอาจจำ� แนกได้ ดงั นี้

       1. 	หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เดิมชื่อหอสมดุ วชิรญาณต้ังขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2448 ปจั จบุ ันมีที่ต้ังอยู่ใน
บริเวณหอสมุดแห่งชาติท่าวาสุกรี กรุงเทพมหานคร เป็นสถานท่ีรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์โดย
เฉพาะหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ได้กล่าวถึงความส�ำคัญของหอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ ซึง่ สรปุ ไดด้ งั น้ี 1) เป็นแหลง่ เกบ็ ข้อมูลเกี่ยวกับเรือ่ งสำ� คญั จงึ ปรากฏอยใู่ นภาษาเขียน 2) เปน็
การเก็บหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรซ่ึงคงทนข้ามกาลเวลา 3) เป็นการเก็บข้อมูล
ชั้นตน้ ท่ีเกดิ ร่วมสมัยกับเหตกุ ารณ์42 หอสมดุ แหง่ ชาตจิ ึงเปน็ แหล่งขอ้ มูลทางประวตั ศิ าสตรท์ ่สี ำ� คญั

       2. 	ห้องสมุด แหลง่ ทใ่ี หข้ อ้ มลู ในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ ในสถานศกึ ษา เชน่
หอ้ งสมุดโรงเรยี น วทิ ยาลยั และมหาวิทยาลัย รวมท้ังห้องสมุดชมุ ชน ปัจจุบันกรมการศกึ ษานอกโรงเรียน
(กศน.) กระทรวงศึกษาธกิ าร สนับสนนุ ให้มีการจัดต้งั หอ้ งสมดุ ในชมุ ชนตา่ งๆ เช่น วดั และโรงเรียน และ
นอกจากน้ีส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สวช.) ได้สนับสนุนให้ชุมชนจัดท�ำห้องสมุดเพ่ือ
สรา้ งความเขม้ แขง็ แกช่ มุ ชน นอกจากนยี้ งั มหี อ้ งสมดุ เอกชน เชน่ หอ้ งสมดุ สยามสมาคม หอ้ งสมดุ วงั วรดศิ
รวมท้ังห้องสมุดของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศซ่ึงมีหนังสือเก่ียวกับประวัติศาสตร์ไทยจ�ำนวนมาก
ห้องสมุดตา่ งๆ ดงั กลา่ วเปน็ แหล่งขอ้ มูลทีช่ ่วยให้ผู้เรยี นสามารถศึกษาประวตั ิศาสตร์ได้ด้วยตนเอง

       3. 	พิพิธภัณฑ์ เป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญท่ีท�ำให้เข้าใจประวัติศาสตร์ได้โดยง่ายและใช้ระยะเวลาส้ัน
ทง้ั นเี้ พราะพพิ ธิ ภณั ฑโ์ ดยทวั่ ไป โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาตทิ ง้ั ในกรงุ เทพฯ และในจงั หวดั
ตา่ งๆ มกั จดั แสดงเกยี่ วกบั เหตกุ ารณ์ วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นและวตั ถสุ ำ� คญั ตา่ งๆ เชน่ พระพทุ ธรปู เทวรปู เสอื้ ผา้
เคร่ืองใช้เคร่ืองประดับที่เก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ไทย นอกจากนี้พิพิธภัณฑ์ในปัจจุบันยังมีการจัดแสดง
โดยใชเ้ ทคโนโลยที นี่ า่ สนใจ เชน่ ทศี่ นู ยศ์ กึ ษาประวตั ศิ าสตร์ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา และบวิ เนยี มสยาม
ที่ตั้งอยู่ที่กระทรวงพาณิชย์เดิม เป็นต้น นอกจากน้ียังมีพิพิธภัณฑ์ท่ีมีการจัดนิทรรศการเฉพาะด้าน เช่น
พิพิธภัณฑ์เงินตราต้ังอยู่ในบริเวณธนาคารแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร ที่ให้ความรู้เรื่องเงินตราของไทย
ต้งั แต่อดตี ถึงปจั จบุ ัน

       ปจั จบุ นั ชมุ ชนบางแหง่ ไดจ้ ดั ตง้ั พพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ ของตน เชน่ พิพิธภัณฑ์ผ้าทองค�ำ ตง้ั อยทู่ ตี่ ำ� บล
หาดเสย้ี ว จงั หวดั สโุ ขทยั มจี ดุ เดน่ คอื การจดั รวบรวมเครอ่ื งใชใ้ นพธิ แี ตง่ งานของชาวไทยพวนบา้ นหาดเสยี้ ว
พิพิธภัณฑ์ชาวนาไทย ตั้งอยู่ท่ีศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดงเร่ืองราวเกี่ยวกับการท�ำนาและวิถี
ชวี ติ ของชาวนาในภาคกลาง นอกจากนย้ี งั มภี าคเอกชนไดจ้ ดั ตงั้ พพิ ธิ ภณั ฑ์ เชน่ พพิ ธิ ภณั ฑว์ งั วรดศิ ตง้ั อยู่

	 42 ฉตั รทิพย์ นาถสภุ า. เร่ืองเดียวกัน. น. 42.
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50