Page 41 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 41
กระบวนการเรียนรแู้ ละการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย 1-31
บอกเล่าสืบต่อกันมา เป็นประวัติศาสตร์ท้องถ่ินหรือภูมิภาค เช่น ต�ำนานพระร่วง เป็นเร่ืองเล่าในบริเวณ
ภาคเหนอื ตอนลา่ ง เชน่ ในเขตจงั หวดั สโุ ขทยั อตุ รดติ ถ์ และพษิ ณโุ ลก เปน็ ตน้ ตำ� นานทา้ วอทู่ อง เปน็ เรอ่ื ง
เล่าในบริเวณภาคกลางตอนล่าง ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี อยุธยา และเพชรบุรี เป็นต้น ส�ำหรับตำ� นาน
เก่ียวกับพุทธศาสนา มีความเป็นประวัติศาสตร์สากล ไม่ใช่เป็นประวัติศาสตร์ของชาติใดชาติหนึ่ง
โดยเฉพาะ37 อยา่ งไรกต็ ามนกั ประวตั ศิ าสตรบ์ างกลมุ่ วพิ ากษว์ า่ หลกั ฐานประวตั ศิ าสตรป์ ระเภทตำ� นานยงั
ขาดความน่าเชื่อถือ เน่ืองจากเป็นเร่ืองที่เล่าต่อกันมา แล้วได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรใน
ภายหลงั นอกจากนย้ี งั ขาดมติ ใิ นเรอื่ งของเวลาทชี่ ดั เจน แตต่ ำ� นานเปน็ หลกั ฐานทท่ี ำ� ใหค้ นรนุ่ หลงั ทราบถงึ
ความรู้ ความคิด ความเช่ือและโลกทัศน์ของคนในอดีต เพราะผู้เขียนต�ำนาน ซึ่งได้แก่พระภิกษุ และ
นกั ปราชญท์ เ่ี ปน็ ฆราวาสในสมยั นน้ั เชอ่ื วา่ เรอ่ื งราวในตำ� นานเปน็ เรอื่ งจรงิ ปจั จบุ นั นกั ประวตั ศิ าสตรบ์ างกลมุ่
ได้กล่ันกรองความจริงจากต�ำนาน เพ่ือน�ำมาเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะประวัติศาสตร์ชุมชน
หรือท้องถ่นิ
2. สมัยพงศาวดาร ช่วงประมาณพุทธศตวรรษท่ี 20 ถึงประมาณพุทธศตวรรษท่ี 24 ตรงกับ
สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การเขียนประวัติศาสตร์ในสมัยพงศาวดาร ได้รับอิทธิพลจาก
การเปลย่ี นแปลงสงั คมทข่ี ยายออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง เนอ่ื งจากผมู้ อี ำ� นาจหรอื พระมหากษตั รยิ ไ์ ดด้ ำ� เนนิ การ
รวบรวมแวน่ แควน้ ตา่ งๆ ทงั้ ดว้ ยวธิ ที างการทตู การอภเิ ษกสมรสหรอื การทำ� สงคราม จนขยายเขตแดนเปน็
อาณาจกั ร เชน่ การขยายอำ� นาจของอยธุ ยาขนึ้ ไปทางตอนเหนอื จนสามารถรวมอาณาจกั รสโุ ขทยั ได้ เมอื่
พ.ศ. 2006 ทำ� ใหส้ งั คมกรงุ ศรอี ยธุ ยา ซง่ึ เปน็ ศนู ยก์ ลางอำ� นาจประกอบดว้ ยผคู้ นทมี่ คี วามแตกตา่ งทางดา้ น
เชื้อชาติและวัฒนธรรม สมัยน้ีโครงสร้างทางสังคมไทยได้เปล่ียนจากระบบเครือญาติเป็นแบบชนช้ัน
ผปู้ กครอง กบั ชนชนั้ ผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง และความสมั พนั ธข์ องผคู้ นเปลยี่ นไปตามลำ� ดบั ชนั้ ไดแ้ ก่ พระราชวงศ์
ขนุ นาง กบั ไพรแ่ ละทาส ซงึ่ มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ผมู้ อี �ำนาจสงู สดุ พระองคท์ รงมสี ถานภาพเปน็ สมมตเิ ทพ
เน่ืองจากการรับคติความเช่ือจากศาสนาฮนิ ดูทีแ่ พร่กระจายเข้ามาในสงั คมไทย
ในด้านเศรษฐกิจ แรงงานนับว่ามีความส�ำคัญมากกว่าดินแดนท่ีมีอยู่อย่างกว้างขวาง แรงงานจึง
เป็นที่มาของรายได้ นอกจากนี้สังคมสมัยพงศาวดารยังมีการเก็บภาษีอากรในรูปแบบต่างๆ และส่วยซึ่ง
ไดแ้ ก่ สงิ่ ของ เชน่ ขา้ ว พชื ผล และของปา่ ทไี่ พรต่ อ้ งสง่ ใหม้ ลู นายแทนการเกณฑแ์ รงงาน สำ� หรบั สว่ ยบาง
ประเภท เชน่ ข้าว ไมเ้ น้ือแข็ง ไม้หอม หนงั สตั ว์ ดีบุก และพริกไทย ถูกส่งเปน็ สนิ ค้าออกไปขายยงั ทา่ เรือ
นานาชาติ การติดต่อค้าขายในสมัยนี้สร้างความม่ังคั่งให้แก่ผู้น�ำ ดังจะเห็นได้จาก พระบรมมหาราชวัง
พาหนะ ช้าง ม้า ววั ควาย เครื่องแตง่ กาย เครื่องประดับ และเครอื่ งใช้ทีท่ ำ� ดว้ ยทองคำ� ประดับอัญมณีอัน
มคี า่ อกี ทง้ั ยงั มอี ำ� นาจควบคมุ ทงั้ ทดี่ นิ แรงงาน ภาษตี า่ งๆ รวมทงั้ การตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั นานาชาติ พระมหา-
กษัตริย์ ในสมัยนี้มีบทบาทหน้าที่ปกครองและมีการพัฒนาระบบบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เชน่ ในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดใหแ้ บง่ ขนุ นางออกเปน็ ฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื นเพอ่ื
ให้ท�ำหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี พระมหากษัตริย์ยังท�ำหน้าท่ีออกกฎหมาย ตัดสินคดีความ
37 ปยิ นาถ บนุ นาค. (2553). “แนวคดิ ทฤษฎแี ละระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางประวตั ศิ าสตร.์ ” ใน ไทยคดศี กึ ษาในบรบิ ทแหง่ ความ
หลากหลาย. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. น. 7.