Page 36 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 36
1-26 ประวัตศิ าสตร์ไทย
เรื่องที่ 1.2.1
ความส�ำคัญและประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
การศกึ ษาหาความรใู้ นทกุ ศาสตร์ ตา่ งมงุ่ เนน้ ในเรอื่ งความจรงิ จงึ ทำ� ใหน้ กั วชิ าการในศาสตรอ์ นื่ ตงั้
ขอ้ สงสัยว่า ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นส่ิงที่เป็นไปได้หรือไม่ ข้อสงสัยนี้เกิดจากธรรมชาติของวิชา
ประวัติศาสตรท์ ีศ่ ึกษาเกี่ยวกับเหตกุ ารณ์ เรือ่ งราว และส่งิ ส�ำคัญในอดตี ซึง่ เสมอื นหนึ่งวา่ ได้ส้นิ สุดไปแล้ว
บางเหตกุ ารณไ์ ดส้ น้ิ สดุ ไปเปน็ เวลานบั รอ้ ย นบั พนั ปี ทง้ั ยงั เปน็ การสดุ วสิ ยั ทจี่ ะมผี หู้ นงึ่ ผใู้ ดสามารถยอ้ นกลบั
ไปดเู หตกุ ารณใ์ นอดตี ใหเ้ หน็ ไดด้ ว้ ยตาตนเอง นอกจากนยี้ งั มผี วู้ จิ ารณว์ า่ นกั ประวตั ศิ าสตรม์ กั ใหค้ วามสนใจ
ทจ่ี ะตง้ั คำ� ถามวา่ ประวัติศาสตร์คืออะไร มากกวา่ การตง้ั คำ� ถามวา่ ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นส่ิงที่เป็น
ไปได้หรือไม่ ทัง้ ทเี่ ป็นคำ� ถามพืน้ ฐานซง่ึ ควรหยิบยกมาอภปิ รายกอ่ น34 อย่างไรก็ตามนักประวัตศิ าสตรไ์ ด้
ยืนยันว่า ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นส่ิงท่ีเป็นไปได้ ด้วยเหตุผล 2 ประการคือ ประการแรก เร่ืองราว
หรอื เหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตรแ์ มว้ า่ ไดส้ น้ิ สดุ แลว้ แตเ่ รอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณใ์ นอดตี ไมไ่ ดย้ ตุ ลิ งไปดว้ ย เพราะวา่
เร่ืองราวหรือเหตุการณ์บางเร่ืองยังคงอยู่ในความทรงจ�ำของบุคคลต่างๆ เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับการเสด็จ
ประพาสต้นในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปยังหัวเมืองต่างๆ หรือเหตุการณ์การทิ้งระเบิด
ท่สี ถานีรถไฟเชยี งใหม่ระหว่างสงครามโลกครั้งท่ี 2 แสดงว่าความรู้ทางประวตั ิศาสตรย์ ังคงมอี ยู่ คืออย่ใู น
ความทรงจำ� ของบคุ คล เหตผุ ลอกี ประการหนงึ่ คอื การทนี่ กั ประวตั ศิ าสตรเ์ ขยี นเรอ่ื งราวทเี่ กดิ ขน้ึ ในอดตี ได้
เน่ืองจากมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถอ้างอิงได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ความรู้ทางประวัติศาสตร์
จงึ เปน็ ส่งิ ทีเ่ ป็นไปได้ เนอ่ื งจากมีหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ซงึ่ อธิบายเพม่ิ เติมได้ดงั นี้
1. ความสำ� คญั ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ นกั ประวตั ศิ าสตรไ์ ดใ้ หค้ วามหมายเกยี่ วกบั หลกั ฐาน
ทางประวัติศาสตร์ไว้หลากหลาย แต่สรุปได้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ส่ิงท่ีเป็นข้อมูลที่ให้
ขอ้ เทจ็ จรงิ ซง่ึ ไดเ้ กดิ ขนึ้ ในอดตี และเหลอื ตกคา้ งเปน็ รอ่ งรอยทที่ ำ� ใหน้ กั ประวตั ศิ าสตรน์ ำ� มาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ใน
การศึกษาความจริงจากเหตุการณ์ เร่ืองราวหรือสิ่งส�ำคัญในอดีตเหล่าน้ัน หลักฐานประวัติศาสตร์จึงมี
ความสำ� คัญอย่างย่ิงท่ีชว่ ยใหน้ ักประวัติศาสตรส์ ามารถสืบสวนเร่ืองราวในอดตี ทนี่ ำ� ไปสูก่ ารหาความจริง
อยา่ งไรกต็ ามสง่ิ ทผ่ี ศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรค์ วรตระหนกั กค็ อื ขอ้ มลู ในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็
เพยี งขอ้ เทจ็ จรงิ (Fact) แตไ่ มใ่ ชค่ วามจรงิ (Truth) ทง้ั นเี้ นอื่ งจากหลกั ฐานตา่ งๆ นน้ั เปน็ ขอ้ มลู เพยี งสว่ นเดยี ว
ของเหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์ ไม่ใช่เปน็ ข้อมลู ทงั้ หมด หรือข้อมลู บางส่วนอาจถกู ทำ� ลาย สญู หายหรือ
ถูกตัดต่อกลั่นกรองมาแล้ว นอกจากนี้ ผู้บันทึกหรือผู้สร้างหลักฐานไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้คนรุ่นหลัง
ศกึ ษา แตเ่ ปน็ การบนั ทกึ หรอื สรา้ งขน้ึ ส�ำหรบั คนในยคุ นน้ั เชน่ พระราชพงศาวดารซง่ึ เปน็ หลกั ฐานเกย่ี วกบั
พระราชวงศ์ มจี ดุ มงุ่ หมายในการบนั ทกึ เพอ่ื เรยี งลำ� ดบั พระมหากษตั รยิ ใ์ นพระราชวงศแ์ ละเหตกุ ารณส์ ำ� คญั
ทเี่ กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะรชั กาล หรอื เปน็ การเฉลมิ พระเกยี รตบิ นั ทกึ ของตระกลู มจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ บนั ทกึ ประวตั แิ ละ
34 สรยุทธ ศรวี รกุล. (2532). “ประวัติศาสตรเ์ ปน็ นวนิยายท่ีสร้างขนึ้ จากหลกั ฐานจริงหรอื .” ใน ปาจารยสาร. (มกราคม-
กมุ ภาพนั ธ)์ 8 (1). น. 18.