Page 34 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 34
1-24 ประวตั ศิ าสตร์ไทย
ตารางที่ 1.4 การศึกษาประวัติศาสตร์ตามสถานที่ซึ่งสัมพันธ์กับวิชาประวัติศาสตร์
สถานที่ทางอารยธรรม สถานที่ทางภูมิภาค สถานที่ทางขอบเขต
ตวั อย่าง ตวั อยา่ ง ตัวอยา่ ง
• ประวัติอารยธรรมตะวนั ออก • ประวัตศิ าสตร์เอเชยี • ประวัติศาสตรโ์ ลก
• ประวตั อิ ารยธรรมตะวนั ตก - ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวันออก • ประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศหรอื ชาติ
ฯลฯ - ประวตั ศิ าสตร์เอเชียตะวันออก • ประวตั ิศาสตรท์ อ้ งถิ่น
เฉยี งใต้ ฯลฯ ฯลฯ
3.1 สถานทท่ี างอารยธรรม แบง่ ขอบเขตออกเปน็ สถานทท่ี างตะวนั ออก ได้แก่ อารยธรรม
อนิ เดยี และอารยธรรมจนี สว่ นสถานทอ่ี ารยธรรมตะวนั ตก ไดแ้ ก่ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี กรกี และโรมนั
หรืออาจแบ่งขอบเขตออกเป็นอารยธรรมลุ่มนํา้ และทะเล เป็นตน้
3.2 สถานทีท่ างภูมภิ าค เกดิ จากการพัฒนาความรู้ ทางดา้ นภูมศิ าสตร์ของชาวตะวนั ตกท่ี
ต่อเนื่องมายาวนาน ท�ำให้ชาวยุโรปแบ่งสถานที่ภูมิภาคต่างๆ ออกเป็นทวีปยุโรป เอเชีย แอฟริกาและ
อเมริกา เป็นต้น และยังแบ่งพ้ืนท่ีเหล่าน้ีออกเป็นพื้นที่ย่อย เช่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วย
ประเทศต่างๆ ซ่ึงประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ การศึกษาประวัติศาสตร์จึงศึกษาตามพื้นที่ เช่น วิชา
ประวัตศิ าสตรย์ ุโรป เอเชยี แอฟริกา และอเมริกา หรือประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ เปน็ ตน้
3.3 สถานท่ที างขอบเขต เกดิ จากการแบง่ ขนาดของพื้นท่ีโลก ซ่ึงมีขอบเขตกว้างทีส่ ดุ การ
ศกึ ษาวิชาประวตั ิศาสตรโ์ ลกจงึ เป็นการศกึ ษาเหตุการณ์ เรอ่ื งราว และส่ิงส�ำคญั ซึ่งเกดิ ขึ้นในโลก นอกจาก
นี้พน้ื ทตี่ ามขอบเขตยังแบง่ ยอ่ ยลงไปเป็นวิชาประวัติศาสตรป์ ระเทศหรอื ชาตติ ่างๆ และวิชาประวัตศิ าสตร์
ทอ้ งถ่นิ เป็นตน้
การอธบิ ายดงั ทกี่ ลา่ วมาแลว้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ เวลาและสถานที่ เปน็ องคป์ ระกอบและมคี วามสมั พนั ธ์
กบั ประวตั ิศาสตร์อยา่ งยิง่
กิจกรรม 1.1.3
จดุ อ้างองิ พนื้ ฐาน มีความสำ� คัญต่อการศกึ ษาประวัติศาสตรอ์ ยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 1.1.3
จดุ อา้ งองิ พน้ื ฐานในความหมายเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ มคี วามสำ� คญั เนอื่ งจากเปน็ เวลา ทรี่ ะบกุ ารเรม่ิ ตน้
ของเหตกุ ารณ์ เร่อื งราวหรอื สง่ิ สำ� คญั ของประวตั ศิ าสตรท์ ผี่ เู้ รยี นประวัตศิ าสตรต์ ้องการคน้ ควา้