Page 32 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 32

1-22 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์กับสถานท่ี

       สถานท่ี (Place) หมายถงึ ทีต่ ้งั หรอื แหล่ง เช่น สถานทูต29 แตค่ วามหมายในเชิงประวตั ิศาสตร์
สถานทค่ี อื ทตี่ ง้ั หรอื แหลง่ หรอื พน้ื ทซ่ี ง่ึ มมี นษุ ยอ์ ยอู่ าศยั ดงั นน้ั สถานทจ่ี งึ มคี วามสำ� คญั เพราะเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั
เปน็ แหลง่ อาหาร และทรพั ยากรตลอดจนเปน็ แหลง่ วฒั นธรรม นชิ ดิ ะ คทิ าโระ (Nishida Kitaro) นกั ปรชั ญา
ชาวญป่ี นุ่ กลา่ ววา่ สถานทคี่ อื การใหค้ ณุ คา่ ทปี่ รากฏเปน็ จรงิ และไดใ้ หค้ วามหมายวา่ สถานทใ่ี นความหมาย
ของเขาคือพ้ืนท่ีนานาชาติ หรือโลก30 ดังน้ันการศึกษาหรือการเขียนประวัติศาสตร์สถานที่จึงเป็นองค์-
ประกอบท่ีมีความส�ำคัญ เพราะแม้ว่าผู้ศึกษาหรือผู้เขียนสามารถบอกเหตุการณ์ เร่ืองราว หรือ
สิ่งส�ำคัญทางประวัติศาสตร์และระบุเวลาได้ แต่ถ้าไม่ได้ระบุสถานท่ี ประวัติศาสตร์ตอนนั้นจะขาดความ
สมบรู ณ์ ดงั นนั้ สถานที่ จงึ เปน็ สว่ นประกอบทสี่ ำ� คญั ของประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ สามารถตงั้ คำ� ถามไดว้ า่ เหตกุ ารณ์
เรื่องราวหรอื สง่ิ สำ� คญั ทางประวัตศิ าสตร์เกดิ ขน้ึ “ที่ไหน” สถานทีซ่ ง่ึ สมั พนั ธก์ บั ประวตั ศิ าสตร์นน้ั ผเู้ ขียน
จำ� แนกได้ดงั นี้

       1. สถานที่หรือพ้ืนที่ซ่ึงเกิดเหตุการณ์ เรื่องราวและสิ่งส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ในเอกสาร
ประวัติศาสตร์มักระบุสถานท่ีไว้ว่าเหตุการณ์ หรือเร่ืองราวเกิดข้ึนท่ีไหน สถานท่ีน้ันจึงเป็นสถานที่ทาง
ประวตั ศิ าสตรท์ ที่ ำ� ใหค้ นรนุ่ หลงั ไดท้ ราบ เชน่ วงั จนั ทรเ์ กษมทจี่ งั หวดั พษิ ณโุ ลก เคยเปน็ ทป่ี ระทบั ในสมเดจ็ -
พระนเรศวรมหาราช

       สถานที่ซ่ึงเกิดเหตุการณ์ เรื่องราว หรือสิ่งส�ำคัญในประวัติศาสตร์อาจมีเพียงสถานที่เดียว หรือ
หลายสถานที่ตามเส้นทางที่เกิดเหตุการณ์ เช่น การอพยพเคลื่อนย้ายของกลุ่มคนในสมัยอยุธยาท่ีไปต้ัง
ถน่ิ ฐานในสถานทีต่ า่ งๆ31 การอพยพเคลื่อนย้ายของกลุ่มคนชาติพนั ธ์ุตา่ งๆ ในลมุ่ แม่นํา้ โขง32 เป็นตน้

       2.	 สถานที่ซ่ึงอยู่ในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคมต่าง ๆ อธบิ ายเพิ่มเติมไดด้ งั นี้
            2.1 สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ทด่ี นิ ภเู ขา ปา่ ไม้ ทะเลทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ วถิ ชี วี ติ และ

พฤติกรรมของมนุษย์ มนุษย์ที่อยู่ในส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติต่างกัน เช่น มนุษย์ท่ีอยู่บนภูเขามัก
รับประทานอาหารที่เป็นผลิตผลจากป่า เชน่ เน้ือสตั ว์ แมลง และพืชผักต่างๆ ส่วนผู้ที่อาศยั อยู่ริมทะเลมกั
รับประทานกุ้ง หอย ปู ปลาที่หาได้จากทะเล แต่ในยุคโลกาภิวัตน์ เง่ือนไขดังกล่าวได้เปล่ียนไป เช่น
คนทต่ี งั้ ถน่ิ ฐานอยภู่ าคเหนอื อาจหาอาหารทะเลรบั ประทานไดง้ า่ ยขนึ้ เนอื่ งจากการพฒั นาเสน้ ทางคมนาคม
และห้องเย็นเก็บอาหาร สิ่งน้ีแสดงให้เห็นว่าสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
ซึ่งอาจท�ำให้ผู้ศึกษาเร่ืองราวในอดีตไม่ได้ให้ความส�ำคัญต่อสถานที่ซึ่งเกิดเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ว่าใน
สมัยน้นั มสี ภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างไร

	 29 พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน 2542. น. 1116.
         30 ฉตั รทิพย์ นาถสุภา. (2548). แนวทางและวธิ ีวิจัยสงั คมไทย. กรงุ เทพฯ: บริษทั สำ�นกั พมิ พส์ ร้างสรรค์ จำ�กดั . น. 2.
         31 ดเู พมิ่ ใน พรพรรณ โปรง่ จติ ร. (2546). การอพยพเคลอ่ื นยา้ ยของกลมุ่ ชนในสมยั อยธุ ยาทปี่ รากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตร.์

ปรญิ ญานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ (ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย) ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
         32 ดเู พม่ิ เติมใน ธวัชชยั พรหมณะ. (2545). ความส�ำ คญั ของการอพยพเคลือ่ นย้ายกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ในลุ่มแม่นํ้าโขงต่อความ

เปน็ เมืองสุวรรณเขต ระหว่าง ค.ศ.1893-1954. สารนพิ นธภ์ าควชิ าประวตั ิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37