Page 35 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 35
กระบวนการเรยี นรู้และการใชห้ ลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ไทย 1-25
ตอนที่ 1.2
การเขียนและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
โปรดอา่ นหวั เรอื่ ง แนวคิด และวตั ถปุ ระสงค์ของตอนท่ี 1.2 แล้วจึงศกึ ษารายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
หัวเรื่อง
1.2.1 ความส�ำคัญและประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
1.2.2 การเขยี นและการใช้หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย
1.2.3 แหล่งขอ้ มลู ในการศึกษาทางประวตั ศิ าสตร์ไทย
แนวคิด
1. หลักฐานทางประวัติศาสตร์เปรียบเสมือนเป็นหนทางที่ท�ำให้นักประวัติศาสตร์ใช้เดิน
เข้าไปค้นคว้าหาความจริงในอดีต หลักฐานประวัติศาสตร์จึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างย่ิง
นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกเป็นประเภทต่างๆ หลักฐานที่
จ�ำแนกตามความส�ำคญั ของหลักฐาน และหลักฐานทีจ่ ำ� แนกตามลกั ษณะอักษร
2. ก ารเขียนและการใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย โดยนักประวัตศิ าสตร์ หรือผูเ้ ขยี น
ประวัติศาสตร์ได้เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมในแต่ละยุคสมัย และ
เขียนข้นึ ตามความสนใจของนักประวตั ศิ าสตร์ หรือผ้เู ขยี นประวตั ศิ าสตรเ์ หล่านนั้
3. แ หลง่ ขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตรม์ อี ยอู่ ยา่ งหลากหลาย อาทิ หอ้ งสมดุ พพิ ธิ ภณั ฑ์ โบราณ-
สถาน และโบราณวตั ถุ ตลอดจนผรู้ ู้ ผศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรท์ รี่ แู้ หลง่ ขอ้ มลู จะชว่ ยใหก้ าร
ศึกษาเปน็ ไปด้วยความรวดเร็ว และตรงกบั หัวข้อทจี่ ะท�ำการศึกษา
วัตถุประสงค์
เมือ่ ศกึ ษาตอนที่ 1.2 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ
1. อธิบายประเภทต่างๆ ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้
2. อธิบายการเขียนและการน�ำหลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้เพื่อค้นคว้าเหตุการณ์
เรอื่ งราวและสิ่งสำ� คญั ในประวตั ศิ าสตรไ์ ด้
3. อธิบายและสามารถระบแุ หลง่ ขอ้ มลู ทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้