Page 33 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 33

กระบวนการเรยี นรู้และการใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทย 1-23
            ในการศึกษาประวัติศาสตร์ ผู้ศึกษาต้องให้ความส�ำคัญต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติใน
สมัยนั้นด้วย ตัวอย่างเช่น กองทัพพม่าที่ยกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยาในปี 2310 โดยความเป็นจริงแล้ว
สามารถเลอื กตงั้ ทพั ในบรเิ วณทอ้ งทงุ่ อนั กวา้ งขวางทใ่ี ดกไ็ ด้ แตก่ ลบั เลอื กตงั้ ทพั อยบู่ รเิ วณวดั ตา่ งๆ รายรอบ
กรุง ถ้าผู้ศึกษาประวัติศาสตร์เข้าใจสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในช่วงเวลานั้น จะทราบได้ว่าการท่ีพม่า
เลอื กตงั้ ทพั ตามบรเิ วณวดั ตา่ งๆ เพราะสถานทต่ี งั้ ของวดั เปน็ ทด่ี อน ดว้ ยเหตนุ แ้ี มว้ า่ ถงึ ฤดนู า้ํ หลาก มนี าํ้ นอง
ท่ัวท้องทุ่ง กองทัพพม่ายังคงต้ังม่ันอยู่ได้และใช้ที่ดอน ซ่ึงเป็นสถานท่ีตั้งวัดเป็นฐานทัพ ส่งกองเรือ
ที่ต่อขึ้นเองออกโจมตีกองทัพเรืออยุธยา กองทัพพม่าจึงสามารถรอจนกระท่ังนํ้าลดจึงโจมตีกรุงศรีอยุธยา
ไดส้ �ำเรจ็
            ตวั อยา่ งดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ หน็ วา่ ถา้ ผศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรค์ ำ� นงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ มของสถานท่ี
จะท�ำให้วิเคราะห์เหตุการณ์เรื่องราว หรือสิ่งส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ได้ดี ดังที่ศาสตราจารย์มิเชอเลห์
(Michelet) ไดแ้ สดงความเห็นว่า ประวตั ศิ าสตร์โดยเนื้อหาสาระ สรา้ งข้ึนจากภมู ศิ าสตร์33
            2.2 สภาพแวดล้อมทางสังคม ในดินแดนไทยมผี ตู้ ้งั ถิน่ ฐานอยู่รวมกันเป็นชุมชนมาชา้ นาน
ชมุ ชนเหลา่ นบ้ี างชมุ ชนพฒั นาจนเปน็ บา้ นเมอื งหรอื อาณาจกั รทม่ี กี ารปกครองอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารประกอบ
อาชีพหลากหลาย มีสังคมที่มั่นคง ตลอดจนความเจริญทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ท้ังน้ีเกิดจากความ
พยายามของคนไทยในการปรับตัวหรอื เอาชนะธรรมชาตเิ พอ่ื ให้ชีวิตดขี ้นึ ดังเช่นคนที่อย่ใู นภาคเหนือ ซ่งึ
มภี มู ปิ ระเทศเปน็ ภเู ขา ใชว้ ธิ กี ารจดั การนาํ้ โดยการทำ� ฝายทดนาํ้ เพอื่ ชะลอนาํ้ มาเพาะปลกู แตค่ นในทร่ี าบลมุ่
ตอนกลางมีปัญหาเรื่องน้ําท่วมขัง จึงขุดคูคลองเพ่ือระบายนํ้า ท�ำเรือนแพหรือสร้างบ้านใต้ถุนสูงบริเวณ
ท่ีดอนรมิ ฝง่ั แมน่ าํ้ ทำ� ใหส้ ภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ของผทู้ ตี่ งั้ ถน่ิ ฐานทางภาคเหนอื กบั ทร่ี าบลมุ่ ภาคกลางตา่ งกนั
ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก สรีดภงค์ หรอื ทำ� นบกั้นนา้ํ ทพ่ี ่อขุนรามคำ� แหงมหาราชโปรดให้สร้างขน้ึ เพอ่ื เกบ็ นา้ํ ไว้ใช้
ในฤดูแล้ง มีที่ต้ังอยู่บนเนินเขานอกเมืองสุโขทัย ต่างจากคูขื่อหน้าซ่ึงอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ
กรงุ ศรอี ยธุ ยาทส่ี มเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 1 (อทู่ อง) ทรงโปรดใหข้ ดุ ขนึ้ เพอ่ื ชะลอนา้ํ ใหล้ อ้ มกรงุ ศรอี ยธุ ยา คอื
แมน่ าํ้ ปา่ สกั ในปจั จบุ นั ดงั นน้ั ทง้ั สรดี ภงคแ์ ละคขู อ่ื หนา้ จงึ เปน็ ผลงานทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ทม่ี ผี ลทำ� ใหส้ ภาพ-
แวดล้อมทางสังคมของกรุงสุโขทัย และกรุงศรีอยธุ ยาตา่ งกัน
            ความเขา้ ใจเรอ่ื งสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละสงั คมของสถานทใี่ นอดตี โดยคำ� นงึ ถงึ ชว่ ง
เวลาทเ่ี กิดเหตกุ ารณ์ ท�ำให้ศกึ ษาวเิ คราะหป์ ระวัตศิ าสตรไ์ ด้ใกลเ้ คยี งกับความจรงิ
       3. สถานท่ีซ่ึงสัมพันธ์กับสาขาวิชาประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์แต่เดิมมักเน้นศึกษา
ประวัติศาสตร์การเมือง หรือประวัติศาสตร์ผู้น�ำ  ประวัติศาสตร์ศาสนา ประวัติศาสตร์การทูต หรือ
ประวตั ศิ าสตรส์ งคราม แตช่ ว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18-19 นกั ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปไดศ้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรใ์ นแงม่ มุ
อนื่ เพม่ิ ขน้ึ ท้ังน้เี นือ่ งจากการค้นพบดินแดนตา่ งๆ ท�ำให้มีการศึกษาเช้ือชาติ และประวตั คิ วามเป็นมาของ
เชื้อชาติเหล่าน้ัน รวมทั้งประวัติศาสตร์ชุมชน หรือประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและ
ประวตั ศิ าสตรว์ ฒั นธรรม เปน็ ตน้ การศกึ ษาวชิ าประวตั ศิ าสตรเ์ กยี่ วกบั สถานทจ่ี งึ ไดพ้ ฒั นาในลกั ษณะตา่ งๆ
ดังน้ี

	 33 ดนัย ไชยโยธา. เร่อื งเดยี วกัน. น. 13 อา้ งองิ จาก R. K. Majumdar and A.N. Srevastra Historiography. p. 19.
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38