Page 40 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 40

1-30 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย

เรื่องที่ 1.2.2
การเขียนและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย

       นักประวัติศาสตร์ได้น�ำหลักฐานมาใช้ค้นหาเหตุการณ์ เร่ืองราวและสิ่งส�ำคัญ ที่เป็นความจริงใน
อดตี หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรจ์ งึ เปรยี บเหมอื นเปน็ สะพานทอดใหค้ นรนุ่ ปจั จบุ นั ไดเ้ ชอ่ื มโยงกบั อดตี โดย
มีนักประวัติศาสตร์เป็นผู้น�ำทาง หรือเป็นผู้น�ำหลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้เขียนถักทอเป็นเร่ืองราว
อยา่ งไรกต็ าม มสี งิ่ ทผี่ ศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตรค์ วรทราบคอื การนำ� หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ าใช้ ขนึ้ อยกู่ บั
การให้ความส�ำคัญ หรือความสนใจในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งของนักประวัติศาสตร์ในแต่ละยุคสมัย ด้วยเหตุน้ี
การเขยี นและการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรจ์ งึ เปลยี่ นไปตามการเปลยี่ นแปลงของสงั คม ทอี่ าจแบง่ ชว่ งเวลา
ของการเขยี นและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกไดเ้ ปน็ 4 สมัยดังน้ี

       1. 	สมัยต�ำนาน ชว่ งประมาณก่อนพทุ ธศตวรรษท่ี 19 ถงึ ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 20 ซ่ึงตรงกบั
สมัยก่อนสุโขทัย และสมัยสุโขทัย สังคมสมัยนี้มีการรวมตัวเป็นบ้านเมืองที่มีหัวหน้าปกครองตั้งแต่ระดับ
ชมุ ชน หมู่บ้าน และเมอื ง การด�ำรงชพี ของคนในชุมชนอยไู่ ดด้ ้วยการเพาะปลูก ผสมผสานกบั การหาของ
ป่าล่าสัตว์ ความสัมพันธ์ของคนในสังคมมีลักษณะแบบเครือญาติ โดยการสืบสายตระกูล หรือการสมรส
ผนู้ ำ� ในสมยั นม้ี บี ทบาทหนา้ ทใี่ นดา้ นตา่ งๆ ทส่ี ำ� คญั คอื การเปน็ ผบู้ รหิ ารจดั การเรอ่ื งนา้ํ เชน่ การทำ� เหมอื งฝาย
การขุดคลองชลประทาน การตัดสินคดี การป้องกันชุมชน และการดูแลทุกข์สุขของผู้คนในชุมชน ขณะ
เดียวกันในชุมชนยังมีผู้น�ำทางวัฒนธรรม ซ่ึงมักเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีบทบาทเป็นผู้น�ำด้านจิตวิญญาณ เช่น
การท�ำพิธีปัดเป่าความเจ็บป่วยที่เชื่อว่าเกิดจากภูตผีปีศาจ หรือการท�ำพิธีเก่ียวกับความตาย ต่อมาเมื่อ
พุทธศาสนาเผยแผ่เข้ามายังดินแดนไทย คติความเช่ือในพุทธศาสนาจึงมีอิทธิพลต่อการด�ำรงชีวิตและ
วฒั นธรรมดว้ ย

       สมัยต�ำนาน ผนู้ �ำมีความส�ำคญั ในฐานะเปน็ ผู้รเิ รม่ิ การบุกเบกิ การตงั้ ถิน่ ฐานหรอื เปน็ ผูน้ �ำสรู้ บเพอื่
ขยายแว่นแคว้นหรือปกป้องบ้านเมือง รวมท้ังเป็นผู้มีความศรัทธาและอุปถัมภ์พุทธศาสนา เรื่องราวของ
ผนู้ ำ� เหลา่ นไี้ ดร้ บั การเลา่ ขานตอ่ กนั มาในลกั ษณะนทิ านมขุ ปาฐะ36 จนกลายเปน็ ตำ� นาน ทบ่ี างเรอ่ื งไดม้ กี าร
เขียนไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรในภายหลัง

       ตำ� นานเปน็ หลกั ฐานประวตั ศิ าสตรท์ แี่ บง่ ได้ 3 ประเภท คอื ต�ำนานวีรบุรุษ ซง่ึ กค็ อื บรรพบรุ ษุ ของ
ผคู้ น ในทอ้ งถนิ่ ตา่ งๆ เชน่ ตำ� นานพระรว่ ง ตำ� นานทา้ วอทู่ อง เปน็ ตน้ ต�ำนานวงศ์ตระกูล เปน็ เรอ่ื งราวซง่ึ
กลา่ วถงึ ผนู้ ำ� ทสี่ รา้ งบา้ นสรา้ งเมอื งแลว้ มลี กู หลานเปน็ หวั หนา้ ปกครองบา้ นเมอื งเหลา่ นส้ี บื ตอ่ มา เชน่ ตำ� นาน
ขุนบรม และต�ำนานท้าวฮุ่ง ขุนเจือง ต�ำนานเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้น�ำชุมชน เรื่องราวของบ้านเมืองกับพระพทุ ธศาสนา อาทิ ต�ำนานอุรงั คธาต ุ  และตำ� นานพระพทุ ธสิหิงค์
เปน็ ตน้ อาจกลา่ วไดว้ า่ ตำ� นานเปน็ การเขยี นประวตั ศิ าสตรแ์ บบจารตี ทเี่ กา่ แกท่ ส่ี ดุ โดยใชห้ ลกั ฐานจากการ

	 36 มขุ ปาฐะ หมายถงึ การบอกเลา่ ตอ่ กนั มาโดยมไิ ดเ้ ขยี นเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร อา้ งจาก พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน
2542. น. 867.
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45