Page 42 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 42
1-32 ประวตั ิศาสตร์ไทย
ป้องกันบ้านเมือง ท�ำนุบ�ำรุงบ้านเมือง เช่น การเกษตร และศาสนา โดยมีพระราชวงศ์และขุนนางเป็น
ผู้ช่วยด�ำเนินการ ด้วยเหตุนี้สมัยพงศาวดารพระมหากษัตริย์จึงทรงเป็นผู้มีความส�ำคัญในฐานะผู้น�ำสูงสุด
ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ดว้ ยเหตนุ ผ้ี มู้ คี วามรทู้ อ่ี ยใู่ นแวดวงราชสำ� นกั เชน่ โหราจารย์ และอาลกั ษณ์
จงึ เขยี นเหตุการณ์ เร่อื งราว และส่งิ ส�ำคญั ตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวกบั พระมหากษตั รยิ ์ นอกจากน้ียังมผี ้มู ีความรอู้ กี
กลมุ่ หนึ่งคือพระสงฆ์ ได้เขียนประวัตศิ าสตรไ์ ว้ดว้ ยเช่นกัน
สรุปไดว้ า่ พงศาวดารคอื การบันทกึ เก่ยี วกับบคุ คล เรือ่ งราว เหตุการณ์บ้านเมอื ง และสิง่ สำ� คัญใน
อดตี รวมทั้งโลกทัศน์ที่มคี วามสัมพนั ธ์กับพทุ ธศาสนา สมัยพงศาวดารได้แบ่งการเขียนประวัติศาสตรอ์ อก
เป็น 2 แบบ คอื
- พงศาวดารแบบพุทธศาสนา เปน็ การเขียนถงึ บุคคล เรอื่ งราว เหตุการณ์บา้ นเมอื งและสง่ิ
ต่างๆ โดยเช่ือมโยงกับพระพุทธเจ้า เช่น มูลศาสนา และชินกาลมาลีปกรณ์ ซึ่งผู้เขียนได้อาศัยหลักฐาน
จากพระไตรปฎิ ก หรือคมั ภรี ท์ างศาสนา ผสมกบั นิทานพน้ื บ้านท่ีเลา่ ตอ่ กันมา38
- พระราชพงศาวดาร เปน็ การเขยี นเกยี่ วกบั พระมหากษตั รยิ ์ และพระราชวงศท์ มี่ ผี คู้ รองราชย์
สบื ตอ่ กัน และเนอื่ งจากพระมหากษัตริย์มฐี านะเปน็ สมมตเิ ทพ การเขียนพระราชพงศาวดารจึงเปน็ เรอ่ื งที่
เก่ียวข้องกับบุญญาบารมีของพระมหากษัตริย์ รวมทั้งพระราชกรณียกิจต่างๆ และเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง
ดังปรากฏอยู่ในพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐที่เขียนขึ้นในสมัยอยุธยา หรือพระราชพงศาวดาร
ฉบบั พระราชหตั ถเลขาทเี่ ขยี นขนึ้ ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เปน็ ตน้ หลกั ฐานทใ่ี ชใ้ นการเขยี นพระราชพงศาวดาร
ได้แก่ จดหมายเหตุโหร หรือจดหมายเหตุทั่วไป เช่น จดหมายเหตุกรมหลวงนรินทรเทวี และเอกสาร
ราชการต่างๆ รวมทงั้ พงศาวดารทเี่ ขียนข้ึนในรชั กาลกอ่ นๆ เป็นตน้
พงศาวดารเปน็ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ มี่ ปี ระโยชน์ เพราะนกั ประวตั ศิ าสตรน์ ำ� มาใชเ้ พอื่ ศกึ ษา
เรอ่ื งราว เหตกุ ารณห์ รอื สง่ิ สำ� คญั เกยี่ วกบั พระมหากษตั รยิ ์ และเหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งในอดตี แตข่ อ้ จำ� กดั ของ
พงศาวดาร คอื บางตอนของพงศาวดารยงั ขาดความนา่ เชอื่ ถอื เนอื่ งจากเปน็ เรอ่ื งทเ่ี ขยี นขน้ึ ในภายหลงั หรอื
ไดร้ บั การแต่งเติมแกไ้ ขในเวลาต่อมา
3. สมัยการปรับปรุงประเทศให้เป็นแบบสมัยใหม่ ช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 24 ถงึ ประมาณ
กลางพุทธศตวรรษที่ 26 ตรงกับสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ถึงสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบ
ประชาธปิ ไตย การปรบั ปรงุ ประเทศใหเ้ ปน็ แบบสมยั ใหมข่ องไทยเรม่ิ ตน้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ในรชั กาลพระบาท-
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้นมา ในช่วงเวลาน้ีสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากกระแส
อทิ ธพิ ลของชาตติ ะวันตก ท�ำให้ผู้น�ำไทยต้องยอมรบั วัฒนธรรมตะวนั ตกในทส่ี ดุ การปรับปรุงบา้ นเมอื งจงึ
เปน็ การเลียนแบบชาติตะวนั ตกเพือ่ ความอยู่รอดจากการตกเปน็ อาณานคิ ม สมยั นม้ี ีการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจท่ีส�ำคัญคือ การด�ำรงชีพของผู้คนเปล่ียนจากการเพาะปลูก และผลิตเพื่อกินเพื่อใช้เป็นการผลิต
เพอื่ ขาย ทำ� ใหส้ งั คมไทยกา้ วเขา้ สรู่ ะบบเงนิ ตรา พรอ้ มกบั การพฒั นาการคา้ กบั นานาชาติ การเปลยี่ นแปลง
ทางเศรษฐกจิ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทท่ี ำ� ใหโ้ ครงสรา้ งสงั คมไทยเปลย่ี นแปลง เนอื่ งจากสงั คมมชี นชนั้ กลางทเ่ี ปน็
เสรีชนเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะกลุ่มพ่อค้า ท่ีมีผลกระทบท�ำให้ระบบศักดินาส้ินสุดลงในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
38 นธิ ิ เอยี วศรีวงษ์ และอาคม พัฒิยะ. เรอื่ งเดยี วกัน. น. 68.