Page 43 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 43
กระบวนการเรยี นรแู้ ละการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย 1-33
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย ที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือการ
เปลี่ยนแปลงโลกทัศน์นิยม (Seculalization) ในเร่ืองความเป็นมนุษย์และความส�ำคัญของชีวิตในชาติน้ี
มากกวา่ ชาตหิ นา้ และการเหน็ จรงิ ทพี่ สิ จู นไ์ ด้ (Positivism) นอกจากนก้ี ลมุ่ ปญั ญาชนยงั มคี วามคดิ ในเรอ่ื ง
ความมเี หตผุ ล และการอธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาตดิ ว้ ยความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และการเปลย่ี นแปลงที่
ส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือความพยายามท�ำให้บ้านเมืองเป็นประเทศหรือรัฐชาติสมัยใหม่ที่มีอาณาเขตของ
ความเป็นรฐั ชาติที่แนน่ อนและพระมหากษตั ริย์มีพระราชอ�ำนาจและสมบรู ณาญาสิทธิราชย์
การขยายอำ� นาจของชาติจักรวรรดนิ ิยม และการรวมชาติใหเ้ ป็นรฐั ชาติแบบใหม่ ท�ำให้เกิดความ
จ�ำเป็นท่ีจะต้องปรับเปล่ียนสังคมหลายประการ รวมท้ังการเขียนและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ี
สำ� คญั คอื การเขยี นประวตั ศิ าสตรโ์ ดยนำ� อดุ มการณช์ าตนิ ยิ มแบบตะวนั ตกมาใชเ้ พอ่ื สรา้ งความเปน็ เอกภาพ
และยืนยันถึงเรื่องราวความเป็นมาของชนชาติไทย ด้วยการใช้หลักฐานที่หลากหลาย ได้แก่ ต�ำนาน
พงศาวดารไทย และพงศาวดารชาติอื่น จดหมายเหตุ หมายรับสง่ั กฎหมาย จารกึ โบราณสถาน โบราณ
วัตถุ ค�ำบอกเล่าและเอกสารราชการตา่ งๆ รวมทัง้ เอกสารภาษาลาว จีน ญป่ี ุ่น พมา่ กมั พูชา และเอกสาร
ของชาวตะวันตก ทเี่ ขียนเกี่ยวกบั ชนชาตไิ ทย ทัง้ นี้จะเหน็ ไดจ้ าก พระราชพงศาวดารพระราชหัตถเลขา
พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั หรอื สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรงนพิ นธ์
แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม และหลักไทยที่เขียนโดยขุนวิจิตรมาตราท่ีใช้หลักฐานอย่างหลากหลาย
เปน็ ตน้ 39 การเขยี นและการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นสมยั นี้ แมว้ า่ ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ พระมหากษตั รยิ ์
แต่เน้นการเขียนเรื่องประวัติศาสตร์ชาติควบคู่ไปด้วย ส�ำหรับเรื่องการใช้หลักฐานน้ัน นอกจากมีการใช้
หลกั ฐานอย่างหลากหลายแลว้ ยังมีการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของหลักฐานทางประวัติศาสตรต์ า่ งๆ วา่ มี
ข้อความตรงกันหรือคลาดเคล่ือนต่างกันไป40 การเขียนและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมัยการ
ปรับปรุงประเทศให้เป็นแบบสมัยใหม่ จึงเป็นการขยายพรมแดนแห่งความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และ
เปน็ พื้นฐานในการเรียนและใช้หลกั ฐานในสมยั ตอ่ มา
4. สมัยปัจจุบัน ชว่ งประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 26 ถงึ ประมาณปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 26 ใน
ชว่ งเวลานเี้ ปน็ เวลาภายหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปน็ ตน้ มาจนถงึ ภายหลงั เหตกุ ารณ์
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 สังคมไทยในช่วงเวลาน้ีมีการปกครองแบบประชาธิปไตย ซ่ึงพระราชอ�ำนาจของ
พระมหากษัตริย์ถูกลดทอนลงให้อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด แต่ขณะเดียวกันสภาพ
การเมืองไทยขาดความม่ันคง เนื่องจากการแย่งอ�ำนาจระหว่างข้าราชการพลเรือนกับทหาร จนในที่สุด
ทหารเปน็ ฝา่ ยใชก้ ำ� ลงั ยดึ อำ� นาจไดส้ ำ� เรจ็ แลว้ ปกครองประเทศแบบเผดจ็ การ เชน่ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์
ได้ก้าวข้ึนมาเป็นนายกรัฐมนตรีที่ได้เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมจนสังคมไทยได้กลายเป็นแบบสมัยใหม่
ขณะเดยี วกนั สงั คมไทยยงั เผชญิ กบั กระแสการเมอื งภายนอกประเทศทสี่ บื เนอื่ งจากการแขง่ ขนั ระหวา่ งชาติ
มหาอำ� นาจภายหลงั สงครามโลกครง้ั ที่ 2 คอื สหรฐั อเมรกิ า และสหภาพโซเวยี ต ในชว่ งเวลานนั้ ประเทศไทย
แม้ว่าเป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย แต่กระแสความนิยมคอมมิวนิสต์ และแนวคิด
มาร์กซสิ ต์ไดแ้ พรก่ ระจาย ทัง้ ในหมูป่ ัญญาชน และประชาชนบางกลมุ่
39 พรเพญ็ ฮน่ั ตระกลู และสายชล สตั ยานรุ กั ษ.์ (2545). “การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทยและการใชห้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร.์ ”
ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาประวตั ิศาสตรไ์ ทย. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. น. 25.
40 เรือ่ งเดียวกัน. น. 26.