Page 60 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 60

1-50 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย
            ค.	การใชค้ วามรเู้ พ่อื สง่ เสริมการประกอบอาชพี ผปู้ ระกอบอาชพี บางแขนง ถา้ มคี วามรหู้ รอื

สนใจประวตั ศิ าสตร์ จะชว่ ยสง่ เสรมิ ในการประกอบอาชพี ของตน อาทิ อาชพี นกั วชิ าการ ศลิ ปนิ หรอื อาชพี
ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ชาวตา่ งชาติ เชน่ มคั คเุ ทศก์ หรอื เจา้ หนา้ ทก่ี ระทรวงการตา่ งประเทศ อาชพี นกั หนงั สอื พมิ พ์
ผปู้ ระกาศขา่ ว นกั การทหาร หรอื นกั การเมอื งทอ้ งถนิ่ เปน็ ตน้ ทงั้ นเ้ี พราะจะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจการปฏบิ ตั งิ านของตน
ได้ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น ผู้ประกาศข่าวถ้ามีความรู้ทางประวัติศาสตร์จะท�ำให้มีความเข้าใจเรื่องราวเกี่ยวกับ
ขา่ วไดด้ ี เช่น การรายงานขา่ วเหตุการณ์ความขดั แยง้ ระหว่างไทยกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน

       สรุปได้ว่าประวัติศาสตร์ได้ให้ความรู้พ้ืนฐาน ที่สามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนาความรู้ในสาขาวิชา
ต่างๆ อีกท้ังยังท�ำให้ผู้เรียนมีข้อมูลมากมายและกว้างขวาง ซึ่งเป็นส่ิงจ�ำเป็นในยุคโลกาภิวัตน์ ที่สังคมมี
ลกั ษณะเปน็ สงั คมแหง่ ความรู้ (Knowledge-Based Society) และเปน็ สงั คมทตี่ อ้ งพบปะผคู้ นหลากหลาย
เชื้อชาติ วฒั นธรรม ความคดิ และรสนยิ ม

       3. 	ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skill) ประวตั ศิ าสตรช์ ่วยสง่ เสริมทักษะทางปัญญาได้ดังน้ี
            ก. ความสามารถในการแยกแยะเร่ืองความจริงและข้อเท็จจริง ท้ังนี้เน่ืองจากจุดอ่อนของ

การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรค์ อื ไมส่ ามารถใชว้ ธิ ที ดลองใหเ้ หน็ ประจกั ษ์ แบบวทิ ยาศาสตร์ นกั ประวตั ศิ าสตรจ์ งึ
เป็นผู้ช่างสงสัยและระมัดระวังในการสืบสวนหาความจริงจากหลักฐานซึ่งผู้สร้างหลักฐานอาจมีอคติหรือ
หลกั ฐานชน้ิ นนั้ ขาดความสมบรู ณ์ ชำ� รดุ ไปตามกาลเวลา หรอื อาจมกี ารเพมิ่ เตมิ เสรมิ แตง่ หลกั ฐานในภายหลงั
ผศู้ ึกษาประวัติศาสตร์ จึงต้องแยกแยะข้อมลู ว่าสิ่งใดจริง ส่ิงใดคอื ข้อเท็จจริงหรือเป็นการตีความ

ตวั อยา่ ง • ความจรงิ  คือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีเม่ือ พ.ศ.
	                      2310 ตามหลักฐานที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงธนบรุ ี
	 • ข้อเท็จจรงิ        คอื เหตผุ ลทสี่ มเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรงยา้ ยราชธานจี ากกรงุ ศรอี ยธุ ยามาตงั้
                       ที่กรงุ ธนบุรี ขอ้ เทจ็ จริงน้สี ว่ นหน่ึงเปน็ การตีความโดยนกั ประวตั ิศาสตร์

            เรื่องราวท่ียกตัวอย่าง ท�ำให้นักประวัติศาสตร์ให้ความส�ำคัญในการแยกแยะว่าเรื่องใดเป็น
ความจรงิ เรอ่ื งใดเปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และแมว้ า่ เปน็ ความจรงิ กเ็ ปน็ เพยี งความจรงิ ทอ่ี าจปรากฏหลกั ฐานเฉพาะ
ทค่ี ้นพบในปจั จุบนั แต่ถ้าในอนาคตค้นพบหลกั ฐานที่เช่อื ถือได้ความจรงิ ในวันน้ีก็ต้องเปลย่ี นไป

            ข. ความสามารถในการเช่ือมโยงหรือสร้างความสัมพันธ์ ท้ังน้ีเน่ืองจากวิธีการทาง
ประวตั ศิ าสตร์คอื การค้นควา้ เหตุการณ์ เรอ่ื งราวและส่ิงสำ� คัญในอดตี เพื่อใหไ้ ดข้ ้อเทจ็ จรงิ อย่างเป็นระบบ
แล้วน�ำมาอธิบายด้วยวิธีการเชื่อมโยงหรืออธิบายความสัมพันธ์ของเรื่องราวที่ค้นคว้าให้เข้าใจเหตุการณ์
ทั้งหมดต้ังแต่สาเหตุ การด�ำเนินเรื่องจนถึงผลหรือผลกระทบที่เกิดข้ึนในสังคมต่อมา วิธีการเช่นน้ีผู้เรียน
ประวตั ศิ าสตรต์ อ้ งใชท้ กั ษะทางปญั ญา ในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และอธบิ ายเหตกุ ารณ์ เรอ่ื งราว หรอื
สิง่ ส�ำคญั ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล

            ค. ความสามารถในการวางแผน ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ได้เรียนรู้พฤติกรรมของมนุษย์ใน
อดตี ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการเขา้ ใจมนษุ ยใ์ นปจั จบุ นั นอกจากนน้ี กั ประวตั ศิ าสตรย์ งั มคี ณุ ลกั ษณะสำ� คญั
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65