Page 52 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 52
11-42 ประวัตศิ าสตร์ไทย
แนวตอบกิจกรรม 11.3.1
สถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศภายใต้ “สงครามเย็น” ไทยเป็นประเทศท่ีมีความสัมพันธ์
อนั ดกี บั สหรฐั อเมรกิ า และสหรฐั ฯ สนบั สนนุ และผลกั ดนั ใหไ้ ทยดำ� เนนิ นโยบายแบบทนุ นยิ มเสรี พรอ้ มไดร้ บั
ความช่วยเหลอื จากธนาคารโลกในระยะแรกของการส�ำรวจและวางแผนเพ่อื พัฒนาเศรษฐกิจ ประกอบกับ
สถานการณ์การเมืองภายในประเทศภายใต้การน�ำของจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ที่สามารถควบคุมอ�ำนาจ
รัฐไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาดและได้ก�ำหนดทิศทางใหม่ในการพัฒนาประเทศ
เร่ืองท่ี 11.3.2
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-3
หลังจากทค่ี ณะสำ� รวจเศรษฐกจิ ของธนาคารโลกได้เสนอ “โครงการพฒั นาการของรฐั บาลสำ� หรบั
ประเทศไทย” รายงานฉบบั ดงั กลา่ วเปรยี บเหมอื นแผนแมข่ องแผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 และ
มกี ารปรบั ปรงุ การบรหิ ารราชการดา้ นเศรษฐกจิ และการคลงั ทส่ี ำ� คญั บางประการ ประเทศไทยจงึ เรมิ่ ใชแ้ ผน
พฒั นาฯ ฉบับที่ 1 เมอ่ื ปี พ.ศ. 2504 โดยลกั ษณะสำ� คัญของแผนพฒั นาฯ คือ การวางแนวทางปฏิบัติของ
ภาครัฐ เพื่อจัดล�ำดับการลงทุนของรัฐบาล โดยก�ำหนดล�ำดับความส�ำคัญของรายจ่ายและโครงการต่างๆ
ท่ีมีส่วนในการพัฒนาประเทศมุ่งให้เศรษฐกิจขยายตัวโดยรัฐมีบทบาทเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนและเอกชน
เปน็ ผู้ด�ำเนนิ การผลติ
ยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 1-3 คือ การพัฒนา
โครงสรา้ งพน้ื ฐาน (Infrastructure) เชน่ การสรา้ งถนน การสรา้ งเขอื่ นเพอ่ื ผลติ ไฟฟา้ และชลประทาน รวม
ไปถงึ การสนบั สนนุ การลงทนุ จากตา่ งประเทศโดยใชม้ าตรการสนบั สนนุ ตา่ งๆ ทเี่ ออื้ ประโยชนแ์ กน่ กั ลงทนุ
เชน่ ประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารลงทนุ การจดั ตง้ั คณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ (BOI) ตลอดจนการ
ให้สิทธิพิเศษทางการลงทุนแก่นักลงทุนท้ังในและต่างประเทศ ท้ังน้ี เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางของ
แผนพัฒนาท่ีต้องการเร่งการพัฒนาไปสู่ความเป็นอุตสาหกรรม (Industrialization) โดยเน้นการพัฒนา
ในแบบการส่งเสรมิ การลงทนุ อุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการน�ำเข้า (Import Substitution Industry)78
78 ยุทธพร อสิ รชยั . (2550). บทบาทของภาครัฐกับการพฒั นาเศรษฐกิจและการเมืองไทย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
เศรษฐกิจกบั การเมอื งไทย (หน่วยที่ 8-15 ฉบบั ปรับปรงุ ครงั้ ท่ี 1 พ.ศ. 2549 พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2). นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมา-
ธริ าช. น. 8-30.