Page 48 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 48

11-38 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย

เร่ืองที่ 11.3.1
นโยบายเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี

       “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” ถือได้ว่าเป็นการเร่ิมต้นแนวทางใหม่ในการพัฒนา
เศรษฐกิจของไทยในรูปแบบ “ทุนนิยมเสรี”66อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลหันไปใช้นโยบายส่งเสริม
การลงทุนของภาคเอกชน และรัฐเปล่ียนบทบาทจากผู้ประกอบการมาเป็นผู้สนับสนุนภาคเอกชน และ
เท่ากับเป็นการยุติการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบทุนนิยมโดยรัฐ จะเห็นได้ว่า จากเง่ือนไขทั้งภายใน
และภายนอกประเทศไดส้ ง่ ผลตอ่ การปรบั เปลย่ี นนโยบายเศรษฐกจิ ของไทยนบั ตง้ั แตท่ ศวรรษที่ 2500 จาก
“ทนุ นิยมโดยรัฐ” มาเปน็ รปู แบบ “ทุนนยิ มเสรี” ดงั ต่อไปน้ี

       สถานการณก์ ารเมืองภายในของไทย เมอ่ื เกิดการรฐั ประหารใน พ.ศ. 2500 และตามมาดว้ ยการ
ปฏวิ ตั ใิ น พ.ศ. 2501 ทำ� ใหอ้ ำ� นาจทางการเมืองการปกครองและการบรหิ ารประเทศอยู่ภายใตค้ ณะปฏิวัติ
โดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ เป็นผู้น�ำท่ีสามารถควบคุมอ�ำนาจรัฐได้เด็ดขาดและมีบทบาทในการก�ำหนด
ทศิ ทางการพฒั นาประเทศ เขาไดก้ ลา่ วกบั ประชาชนตงั้ แตเ่ รม่ิ แรกไวว้ า่ รฐั บาลคณะปฏวิ ตั ขิ องตนกระทำ� ไป
เพอื่ พัฒนาประเทศ ซงึ่ การพัฒนาตามแนวทางของจอมพลสฤษดเ์ิ น้นการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม67

       อทิ ธพิ ลของสหรฐั อเมรกิ าในการกำ� หนดนโยบายเศรษฐกจิ ของไทย ไดเ้ พมิ่ ขน้ึ ตามลำ� ดบั นบั ตงั้ แต่
ทศวรรษท่ี 2490 และเด่นชดั ขึน้ เม่อื เขา้ สทู่ ศวรรษท่ี 2500 การน�ำ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาต”ิ มาใช้
ในการพฒั นาประเทศ กเ็ ปน็ ผลจากความรว่ มมอื กบั สหรฐั ฯ ทต่ี อ้ งการเปดิ ประเทศไทยใหร้ องรบั การขยายตวั
ของทนุ จากโลกเสรี (โดยเฉพาะทุนจากสหรัฐฯ) ใหเ้ ข้ามาลงทนุ โดยสะดวก และขณะเดียวกนั เพอ่ื ให้ไทย
มี “ความผูกพนั ทัง้ ทางอดุ มการณ์และการคา้ กับโลกเสรี” สถานการณ์ดังกลา่ วท�ำให้รฐั บาลจอมพลสฤษดิ์
ธนะรชั ต์ ยง่ิ มีความใกลช้ ดิ กบั สหรัฐอเมรกิ า โดยสหรฐั ฯ ไดใ้ ห้ความช่วยเหลือไทยทัง้ ด้านการเงินและการ
ทหารในการพัฒนา และปราบปรามผู้กอ่ การรา้ ยในประเทศ68 และทางด้านเศรษฐกจิ เชน่ ใน พ.ศ. 2501
สหรฐั ฯ อนมุ ัตเิ งินกยู้ ืมในการพัฒนาให้แก่ไทยเพอ่ื ชว่ ยส่งเสรมิ โครงการเศรษฐกิจ ระหว่างปี 2501-2502
เปน็ เงิน 58.9 ล้านดอลลารส์ หรฐั ซง่ึ มจี ำ� นวนมากกว่าท่ไี ด้รับในปที ่ีผ่านมาถึงสองเท่า69

         66 ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ มเสรี (Capitalism): เปน็ แนวความคดิ ทว่ี า่ ดว้ ยระบบเศรษฐกจิ สามารถเขา้ สภู่ าวะดลุ ยภาพ
ไดด้ ว้ ย “กลไกตลาด” (Market Mechanism) โดยภาคเอกชนเปน็ ผมู้ บี ทบาทสำ�คญั ในระบบเศรษฐกจิ และการแทรกแซงของรฐั เปน็
สงิ่ ท่ไี มจ่ ำ�เปน็ เพอ่ื ทำ�ให้เกดิ เสรีภาพของการค้าการบรกิ าร	

         67 ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2548). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคณะ (ผู้แปล).
(พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: มูลนธิ โิ ครงการตำ� ราสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร.์ น. 271-272.

         68 พรรณี บัวเล็ก. (2543). วิเคราะห์นายทุนธนาคารพาณิชย์ของไทย พ.ศ. 2475-2516 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
ศยาม. น. 182.	

         69 ทกั ษ์ เฉลมิ เตียรณ. เรือ่ งเดยี วกนั . น. 282.
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53