Page 44 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 44
11-34 ประวัตศิ าสตร์ไทย
การเติบโตของรัฐวิสาหกิจในทศวรรษที่ 2490
มผี ตู้ งั้ ขอ้ สงั เกตวา่ รฐั วสิ าหกจิ ชว่ งนสี้ รา้ งขน้ึ โดยระบบราชการเพอื่ เปน็ ทกี่ อบโกยผลประโยชนข์ อง
ข้าราชการทั้งฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหารมากกว่าเป็นเครื่องมือของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
รัฐวิสาหกิจที่เกิดขึ้นไม่ได้ต้ังอยู่ในกรอบของนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม อีกทั้งรัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่
มกั ประสบปญั หาในการบรหิ ารงานและเปน็ ภาระตอ่ งบประมาณ หลายแหง่ ประสบภาวะขาดทนุ จนตอ้ งเลกิ
กิจการในเวลาต่อมา
กลุ่มท่ีได้รับผลประโยชน์จากรัฐวิสาหกิจในช่วงเวลาดังกล่าว ได้แก่ กลุ่มพลโทผิน ชุณหะวัณ
พร้อมทั้งครอบครวั และผู้ใกล้ชดิ (หรอื กลมุ่ ราชครู) ได้แก่ พลต�ำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ พลตรปี ระมาณ
อดิเรกสาร และพลตรีศิริ สิริโยธิน และอีกกลุ่มหนึ่งคือกลุ่มของจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ (หรือกลุ่มสี่เสา
เทเวศร์) โดยส่วนใหญ่จะใช้วิธีต้ังบริษัทส่วนตัวแล้วหาประโยชน์กับราชการมากกว่าจะเป็นผู้บริหาร
รัฐวสิ าหกจิ โดยตรง เนื่องจากกลมุ่ ทเ่ี ป็นคณะรัฐประหารส่วนมากเปน็ ทหาร สมยั นจ้ี งึ เป็นสมยั ที่ทหารเริม่
มีอิทธิพลในธุรกิจ ทหารบางกลุ่มได้หันมาประกอบธุรกิจส่วนตัวกันอย่างจริงจัง โดยอาศัยอภิสิทธิ์และ
อทิ ธพิ ลในการตดิ ตอ่ กบั ภาคราชการ และอาศยั ความรว่ มมอื กบั พอ่ คา้ เอกชน โดยการเปน็ กรรมการบรษิ ทั
ร่วมกัน63 กิจการบางแห่งมีรัฐมนตรีอย่างน้อย 3 คน เป็นกรรมการในบางช่วง เช่น ธนาคารเอเชีย
ธนาคารกรุงเทพ บริษัทชลประทานซีเมนต์ เป็นต้น บริษัทบางแห่งได้อภิสิทธิ์ในการประกอบการ เช่น
บริษัทไทยท�ำ ได้รับสิทธิพิเศษให้ปรุงสุราชนิดพิเศษส่งไปขายตามสโมสรทหารในต่างจังหวัดได้ บริษัท
บางกอกสากลการคา้ เปน็ ผชู้ นะประมลู ตงั้ โรงกลน่ั นำ�้ มนั ของกระทรวงกลาโหม บรษิ ทั บรู พาสากลเศรษฐกจิ
ผกู ขาดการสงั่ สนิ คา้ เขา้ ทส่ี ำ� คญั ของทางราชการ เชน่ หวั รถจกั ร เครอื่ งอาวธุ ยทุ โธปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นทางราชการ
เป็นต้น64 นโยบายเศรษฐกิจรูปแบบทุนนิยมโดยรัฐท่ีสนับสนุนให้จัดต้ังรัฐวิสาหกิจข้ึนเป็นจ�ำนวนมาก
ดังกล่าว จากวัตถุประสงค์ส�ำคัญของการตั้งรัฐวิสาหกิจท่ีเกิดข้ึนมาน้ันเพื่อกีดกันคนจีนและชาวต่างชาติ
แตใ่ นทางปฏิบตั ิยังมีไวเ้ พ่ือตอบสนองผลประโยชน์ใหแ้ ก่ผ้มู ีอำ� นาจและพรรคพวก ดังนั้น เราจะเหน็ ไดว้ ่า
กลุ่มพ่อค้าจีนที่เคยสนับสนุนผู้มีอ�ำนาจเดิม (สมาชิกของคณะราษฎร) ต้องย้ายข้างมาสนับสนุนกลุ่มผู้มี
อ�ำนาจใหม่ ซง่ึ ก็คอื กลุ่มทหาร อาทิ “ผ้ยู ่ิงใหญ่ท้งั ห้า” ได้แก่ ตระกูลหวง่ั หลี ล่ำ� ซำ� บูลสุข บลู กุล (กลุม่
มาบญุ ครอง) และเอีย่ มสรุ ยี ์ เกอื บทัง้ หมดตอ้ งลดบทบาท และมีบางตระกูลเทา่ นน้ั ท่ีสามารถด�ำเนนิ ธุรกิจ
และยา้ ยข้างไปอยู่ภายใตก้ ารอุปถมั ภข์ องผูม้ ีอำ� นาจทางการเมืองกลุม่ ทหารได้ อย่างเชน่ ตระกูลลำ่� ซำ� 65
อยา่ งไรกต็ าม เศรษฐกิจแบบทุนนยิ มโดยรัฐทีต่ ้องอยูภ่ ายใต้การอุปถัมภแ์ ละมีในลักษณะผูกขาด
ดงั กลา่ วทำ� ใหน้ ายทนุ ไทยไมส่ ามารถเตบิ โตไดอ้ ยา่ งอสิ ระและยงั กดี ขวางการลงทนุ ของนายทนุ ตา่ งชาตนิ นั้
อีกทั้งขัดแย้งกับนโยบายทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาท่ีมีแนวทางแบบทุนนิยมเสรี ขณะท่ีสหรัฐฯ
63 เช่น พลตำ�รวจเอกเผ่า ศรยี านนท์ เปน็ กรรมการร่วมในบรษิ ัทกับผ้อู นื่ 24 แหง่ พลโทผิน ชณุ หะวณั 17 แหง่ และ
พลตรีประมาณ อดิเรกสาร 18 แหง่
64 นภพร เรอื งสกลุ . เรือ่ งเดยี วกนั . น. 642-643.
65 อกุ ฤษฎ์ ปัทมานนั ท์. (2550). กรณศี กึ ษาด้านเศรษฐกิจและการเมืองไทย. ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ าเศรษฐกิจกบั
การเมืองไทย (หน่วยท่ี 8-15 ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2549 พิมพ์คร้ังที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
น. 15-9.